title

ณัฐพล ทุมมา

ทีม Thai PBS Verify

Verify

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม

ตรวจสอบพบคลิป TikTok ปลอม อ้างตึกถล่มในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 68 ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว ตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า ขณะที่คนไม่ทราบหลงแชร์ข่าวนับร้อย

22 เม.ย. 68

คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า

คลิปอ้างว่าพบผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม คนล่าสุด แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า พบคนหลงเชื่อเข้าไปดูแล้วเกือบ 3 แสนครั้ง

12 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว : ของจริง! SMS สนง.สถิติฯ ชวนลุ้นรางวัล 6 ล้านบาท
สังคมและสุขภาพ
#ข่าวจริง

ตรวจสอบแล้ว : ของจริง! SMS สนง.สถิติฯ ชวนลุ้นรางวัล 6 ล้านบาท

กรณีประชาชนหลายคนได้รับข้อความ SMS ระบุ ร่วมตอบแบบสอบถามสำมะโนประชากรลุ้นรับรางวัลรวมกว่า 6 ล้านบาท จาก MadeeNSO ตรวจสอบแล้วมาจาก "สำนักงานสถิติแห่งชาติ" จริง เตือนหากได้รับ SMS ให้สังเกตให้ดี ป้องกันมิจฉาชีพแอบอ้าง

2 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน

หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบคลิปอ้างเจดีย์ "ชเวดากองถล่ม" แต่จากการตรวจสอบพบว่าเป็นเจดีย์ของวัดแห่งหนึ่งในเมืองพินดายา รัฐฉาน ประเทศเมียนมา เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่ดูไปถึง 10 ล้านครั้ง

31 มี.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว : ไม่ใช่ “นักข่าว” ปมถาม “แผ่นดินไหว” เพราะ “สมรสเท่าเทียม-กาสิโน”
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว : ไม่ใช่ “นักข่าว” ปมถาม “แผ่นดินไหว” เพราะ “สมรสเท่าเทียม-กาสิโน”

Thai PBS Verify พบคลิปที่อ้างว่าเป็นเสียงของผู้สื่อข่าว ที่สอบถามขณะสัมภาษณ์เหตุแผ่นดินไหว อ้างว่าสาเหตุเกิดขึ้นเพราะรัฐบาลผ่าน กฎหมายสมรสเท่าเทียม และ กาสิโน ตรวจสอบพบไม่ใช่นักข่าวแต่อย่างใด

29 มี.ค. 68

ตรวจสอบพบ : ภาพอ้าง “รอยเลื่อนสะกาย” คนแห่แชร์กว่าพันครั้ง ที่แท้ภาพ AI
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ : ภาพอ้าง “รอยเลื่อนสะกาย” คนแห่แชร์กว่าพันครั้ง ที่แท้ภาพ AI

แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบการรายงานอ้างภาพแผ่นดินแยกขนาดใหญ่เป็นภาพของ "รอยเลื่อนสะกาย" ในเมียนมา แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงภาพที่สร้างจาก AI เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่แชร์ไปกว่า 1,000 ครั้ง

29 มี.ค. 68

ตรวจสอบพบ : “ตึกใบหยก” สีแตกตั้งแต่ปี 54 ไม่ใช่ “ตึกร้าว” ตามข่าวลือ
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวบิดเบือน

ตรวจสอบพบ : “ตึกใบหยก” สีแตกตั้งแต่ปี 54 ไม่ใช่ “ตึกร้าว” ตามข่าวลือ

ช่วงเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมียนมา Thai PBS Verify พบข่าวลือต่าง ๆ แพร่สะพัดจำนวนมาก ซึ่งหนึ่งในข่าวที่ตรวจสอบคือโพสต์ที่มีการอ้างว่า ตึกใบหยก "เอียง-ร้าว" จากการตรวจสอบพบรอยคล้ายรอยร้าวเป็นเพียงรอยของสีแตกตั้งแต่ปี 2554 เพียงเท่านั้น

29 มี.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว : โพสต์อ้าง “สะพานภูมิพลสลิงขาด” แค่ข่าวลือ !
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวบิดเบือน

ตรวจสอบแล้ว : โพสต์อ้าง “สะพานภูมิพลสลิงขาด” แค่ข่าวลือ !

โพสต์อ้าง "สะพานภูมิพลสลิงขาด" จากการตรวจสอบมีเพียงการปิดสะพานเนื่องจากมีเศษหินหล่นขวางการจราจร ด้าน กรมทางหลวงชนบท ยันไม่เป็นความจริง พร้อมเปิดให้สัญจรตามปกติแล้ว

29 มี.ค. 68

ตรวจสอบ “ข่าวบิดเบือน” ช่วงแผ่นดินไหวเขย่ากรุง !
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวบิดเบือน

ตรวจสอบ “ข่าวบิดเบือน” ช่วงแผ่นดินไหวเขย่ากรุง !

ช่วงเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมียนมา ซึ่งส่งผลให้ประชาชนในประเทศไทยจนสามารถรับรู้แรงสั่นสะเทือนได้นั้น Thai PBS Verify พบข่าวลือต่าง ๆ แพร่สะพัดจำนวนมาก แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงแค่การบิดเบือนเพียงเท่านั้น

28 มี.ค. 68

บทความ

ตัวจริงเตือนภัย ! ลวงซ้ำซ้อน หลอกลงทุนออนไลน์-กู้แอปฯ
บทสัมภาษณ์

ตัวจริงเตือนภัย ! ลวงซ้ำซ้อน หลอกลงทุนออนไลน์-กู้แอปฯ

"จากความหวังเล็ก ๆ ที่จะมีรายได้เสริม สู่ฝันร้ายที่ทำให้หญิงวัย 52 สูญเงินเกือบ 1.5 ล้านบาท รูปแบบกลลวงที่เหล่ามิจฉาชีพนำมาใช้จะเป็นอย่างไร และเราจะสามารถป้องกันตนเองจากภัยของมิจฉาชีพเหล่านี้ได้อย่างไร Thai PBS Verify รวบรวมเอาไว้ที่นี่

26 เม.ย. 68

เปิดสถิติ 5 อันดับคดีออนไลน์ ที่คนไทยถูกหลอกมากสุด ปี 68
บทวิเคราะห์

เปิดสถิติ 5 อันดับคดีออนไลน์ ที่คนไทยถูกหลอกมากสุด ปี 68

เปิดสถิติ 5 อันดับคดีออนไลน์หลังผ่านมา 3 เดือนของปี 2568 พบ "การหลอกลวงซื้อขายสินค้า" ยังคงเป็นกลลวงที่มิจฉาชีพใช้ลวงเหยื่อมากที่สุด ขณะที่ความเสียหายลดลงไปร้อยละ 45 พร้อมแนะนำ 5 วิธีป้องกันมิจฉาชีพ

1 เม.ย. 68