ตรวจสอบพบ : เพจอ้างรับอินฟลูฯ รีวิวโรงแรม แท้จริงสวมรอยบริษัทอสังหาฯ หลอกเงินค่าสมัคร
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ : เพจอ้างรับอินฟลูฯ รีวิวโรงแรม แท้จริงสวมรอยบริษัทอสังหาฯ หลอกเงินค่าสมัคร

กลุ่มมิจฉาชีพสร้างเพจหลอกลวงรับสมัครงานอินฟลูเอนเซอร์ นักเขียนรีวิวโรงแรมและนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ โดยอ้างรายได้สูง ก่อนเก็บค่าสมัครงานแล้วบล็อกหนี ตำรวจชี้เป็นพฤติกรรมมิจฉาชีพออนไลน์รูปแบบขบวนการ

23 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม

ตรวจสอบพบคลิป TikTok ปลอม อ้างตึกถล่มในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 68 ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว ตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า ขณะที่คนไม่ทราบหลงแชร์ข่าวนับร้อย

22 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปประท้วงตุรกี แท้จริงคือคลิปเก่า โป๊ปฟรานซิสเยือนติมอร์ – เลสเต
รอบโลก#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปประท้วงตุรกี แท้จริงคือคลิปเก่า โป๊ปฟรานซิสเยือนติมอร์ – เลสเต

ท่ามกลางกระแสความขัดแย้งทางการเมืองในตุรกี หลังการจับกุมเอเคร็ม อีมาโมกลู นายกเทศมนตรีอิสตันบูล คู่แข่งคนสำคัญของประธานาธิบดีแอร์โดกัน เกิดการประท้วงใหญ่ทั่วประเทศ แต่กลับมีการเผยแพร่คลิปวิดีโอที่บิดเบือนข้อเท็จจริง โดยอ้างว่าเป็นการประท้วงในตุรกี ทั้งที่จริงแล้วเป็นภาพพิธีกรรมทางศาสนาจากเหตุการณ์สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเสด็จเยือนติมอร์-เลสเต

18 เม.ย. 68

จับโป๊ะคลิปจัดฉาก! อ้างเท็จประหารอดีตผู้ว่าแบงก์ชาติจีน
รอบโลก#ข่าวปลอม

จับโป๊ะคลิปจัดฉาก! อ้างเท็จประหารอดีตผู้ว่าแบงก์ชาติจีน

ข่าวปลอมยังคงเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบต่อความเข้าใจของประชาชน ล่าสุดบนโลกออนไลน์มีการแชร์คลิปวิดีโอที่อ้างว่าเป็นภาพขณะประหารชีวิตอดีตประธานธนาคารกลางจีน แต่เมื่อตรวจสอบอย่างละเอียดแล้วกลับพบว่าเป็น “คลิปจัดฉาก” ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์จริงแต่อย่างใด บทความนี้จะพาคุณไปเจาะลึกข้อเท็จจริง พร้อมแนะวิธีสังเกตข่าวปลอมก่อนตกเป็นเหยื่อของข้อมูลบิดเบือน

16 เม.ย. 68

Fake News โพสต์อ้างไฟเซอร์เปิดเผยผลข้างเคียงวัคซีนโควิด
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

Fake News โพสต์อ้างไฟเซอร์เปิดเผยผลข้างเคียงวัคซีนโควิด

มีการแชร์โพสต์ออนไลน์จำนวนมากที่อ้างว่าบริษัทไฟเซอร์ได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผลข้างเคียงของวัคซีนป้องกันโควิด-19 ซึ่งประเด็นดังกล่าวได้รับการตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้ว และพบว่าข้อมูลที่ถูกแชร์นั้นไม่ถูกต้อง

16 เม.ย. 68

คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า

คลิปอ้างว่าพบผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม คนล่าสุด แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า พบคนหลงเชื่อเข้าไปดูแล้วเกือบ 3 แสนครั้ง

12 เม.ย. 68

ยูเครนยันข่าวลือ ผู้นำไม่ได้ซื้อหุ้นธนาคารยักษ์ใหญ่ฝรั่งเศส
รอบโลก#ข่าวปลอม

ยูเครนยันข่าวลือ ผู้นำไม่ได้ซื้อหุ้นธนาคารยักษ์ใหญ่ฝรั่งเศส

รัฐบาลยูเครนออกแถลงการณ์ปฏิเสธกระแสข่าวลือบนสื่อออนไลน์ กรณีผู้นำประเทศถูกกล่าวอ้างว่าเข้าถือครองหุ้นของธนาคารฝรั่งเศสชื่อดัง โดยยืนยันว่าไม่เป็นความจริง และไม่มีหลักฐานใดยืนยันข้อกล่าวหาดังกล่าว พร้อมระบุว่าเป็นข่าวปลอมที่มีเป้าหมายบิดเบือนความเข้าใจของสาธารณชน

10 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน

หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบคลิปอ้างเจดีย์ "ชเวดากองถล่ม" แต่จากการตรวจสอบพบว่าเป็นเจดีย์ของวัดแห่งหนึ่งในเมืองพินดายา รัฐฉาน ประเทศเมียนมา เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่ดูไปถึง 10 ล้านครั้ง

31 มี.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว : ไม่ใช่ “นักข่าว” ปมถาม “แผ่นดินไหว” เพราะ “สมรสเท่าเทียม-กาสิโน”
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว : ไม่ใช่ “นักข่าว” ปมถาม “แผ่นดินไหว” เพราะ “สมรสเท่าเทียม-กาสิโน”

Thai PBS Verify พบคลิปที่อ้างว่าเป็นเสียงของผู้สื่อข่าว ที่สอบถามขณะสัมภาษณ์เหตุแผ่นดินไหว อ้างว่าสาเหตุเกิดขึ้นเพราะรัฐบาลผ่าน กฎหมายสมรสเท่าเทียม และ กาสิโน ตรวจสอบพบไม่ใช่นักข่าวแต่อย่างใด

29 มี.ค. 68