ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม

ตรวจสอบพบคลิป TikTok ปลอม อ้างตึกถล่มในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 68 ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว ตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า ขณะที่คนไม่ทราบหลงแชร์ข่าวนับร้อย

22 เม.ย. 68

จับโป๊ะคลิปจัดฉาก! อ้างเท็จประหารอดีตผู้ว่าแบงก์ชาติจีน
รอบโลก#ข่าวปลอม

จับโป๊ะคลิปจัดฉาก! อ้างเท็จประหารอดีตผู้ว่าแบงก์ชาติจีน

ข่าวปลอมยังคงเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบต่อความเข้าใจของประชาชน ล่าสุดบนโลกออนไลน์มีการแชร์คลิปวิดีโอที่อ้างว่าเป็นภาพขณะประหารชีวิตอดีตประธานธนาคารกลางจีน แต่เมื่อตรวจสอบอย่างละเอียดแล้วกลับพบว่าเป็น “คลิปจัดฉาก” ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์จริงแต่อย่างใด บทความนี้จะพาคุณไปเจาะลึกข้อเท็จจริง พร้อมแนะวิธีสังเกตข่าวปลอมก่อนตกเป็นเหยื่อของข้อมูลบิดเบือน

16 เม.ย. 68

คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

คลิปช่วยผู้รอดชีวิตตึก สตง. พบเป็นเพียงคลิปเก่า

คลิปอ้างว่าพบผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์ตึก สตง. ถล่ม คนล่าสุด แต่จากการตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า พบคนหลงเชื่อเข้าไปดูแล้วเกือบ 3 แสนครั้ง

12 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน

หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบคลิปอ้างเจดีย์ "ชเวดากองถล่ม" แต่จากการตรวจสอบพบว่าเป็นเจดีย์ของวัดแห่งหนึ่งในเมืองพินดายา รัฐฉาน ประเทศเมียนมา เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่ดูไปถึง 10 ล้านครั้ง

31 มี.ค. 68

ตรวจสอบพบ : คลิป “ตั๊กแตนดอกบัวหิมะ” คนดู 10 ล้านครั้ง ที่แท้สร้างจาก AI
รอบโลก#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ : คลิป “ตั๊กแตนดอกบัวหิมะ” คนดู 10 ล้านครั้ง ที่แท้สร้างจาก AI

คลิปตั๊กแตนถูกระบุว่าเป็น "ตั๊กแตนดอกบัวหิมะ" ซึ่งมีคนเข้าชมไปกว่า 10 ล้านวิว แท้จริงเป็นเพียงภาพที่สร้างจาก AI พบผู้เข้าชมบางส่วนหลงเชื่อ

11 มี.ค. 68

อย่าเชื่อ ! โพสต์อ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 บาท พบเป็นเพียงคลิปประท้วงค่าวีซ่าสูงเกินจริง
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

อย่าเชื่อ ! โพสต์อ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 บาท พบเป็นเพียงคลิปประท้วงค่าวีซ่าสูงเกินจริง

คนละเรื่อง ! คลิปอ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 แท้จริงเป็นคลิปประท้วงบริษัทเก็บค่าต่อวีซ่าและใบอนุญาตทำงานสูงเกินจริง

5 มี.ค. 68

ตรวจสอบพบ : คลิป AI อ้างหมอชื่อดังถูกจับ เหตุเผยสูตรยาความดันสูงกินแล้วหายใน 3 วัน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี#ข่าวปลอม

ตรวจสอบพบ : คลิป AI อ้างหมอชื่อดังถูกจับ เหตุเผยสูตรยาความดันสูงกินแล้วหายใน 3 วัน

คลิป AI โผล่ ! อ้างรายการข่าว Thai PBS ออกข่าวหมอชื่อดังถูกจับ เหตุออกมาเปิดเผยสูตรยารักษาความดันสูง กินแล้วหายภายใน 3 วัน

14 ก.พ. 68