การจัดการเชิงป้องกันเพื่อสู้โควิด-19พบกับการจัดการชุมชนเพื่อรอดพ้นจากสถานการณ์โควิด-19 ในภาคเหนือ, อีสาน, ใต้ และพูดคุยกับนายก อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี เกี่ยวกับการจัดการเชิงป้องกันเพื่อสู้กับโควิด-19
การเฝ้าระวังโควิด-19 ของชุมชนบ้านน้ำเค็ม จ.พังงาไปดูการทำงานเชิงรุกของชาวบ้านชุมชนบ้านน้ำเค็ม อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา กับการคัดกรองเฝ้าระวัง ทำให้พังงาเป็น 1 ใน 3 จังหวัดของภาคใต้ที่ยังไม่พบผู้ติดเชื้อ
ชุมชนชาวตลาดสู้โควิด-19การรับมือของ 3 ตลาดในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ปากคลองตลาด, ตลาดห้วยขวาง, ตลาดยิ่งเจริญ เมื่อสังคมไทยและตลาดเป็นของคู่กัน ในวันที่ต้องเผชิญกับวิกฤตโควิด-19 พวกเขาจะทำอย่างไร
สถานการณ์คุมโควิด-19 ที่ 3 ชายแดนไปดูสถานการณ์ใน 3 ชายแดนที่แม่สอด, อรัญประเทศ และด่านนอก หลังจากที่มีการปิดด่านพรมแดนเพื่อบ้าน (เมียนมา – กัมพูชา- มาเลเซีย) เพื่อควบคุมสถานการณ์โควิด-19
สแกนสถานการณ์ชายแดนไทย - กัมพูชาสแกนสถานการณ์ชายแดนหลังจากมีคำสั่งปิดด่าน พูดคุยกับปูเป้ - กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์ ผู้สื่อข่าวที่ลงพื้นที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองบ้านคลองลึก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ชายแดนไทย - กัมพูชา
สร้างพลังใจสู้โควิด-19 ในช่วงสงกรานต์ไปฟังคำให้พรจากพระไพศาล วิสาโล เจ้าอาวาสวัดป่าสุคะโต จังหวัดชัยภูมิ เพื่อสร้างพลังใจในการใช้ชีวิตช่วงเทศกาลสงกรานต์ ที่ปีนี้มาพร้อมกับโควิด-19
สแกนกลุ่มคนไร้บ้านไปสแกนกลุ่มคนไร้บ้านที่เชียงใหม่, ขอนแก่น และที่กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 มากที่สุดกลุ่มหนึ่ง
บทบาทวัดในวันที่เผชิญโควิด-19การปรับบทบาทของวัด พระสงฆ์ และกิจกรรมทางพุทธศาสนาในวันที่ต้องเผชิญกับวิกฤตโควิด-19 ทั้งจาก จ.เชียงใหม่ จ.ร้อยเอ็ด และ จ.นครศรีธรรมราช
พลังจิตอาสาสู้โควิด-19พบกับจิตอาสาที่หลากหลายตั้งแต่ “จิตอาสารับสาย 1422” อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว อาสาสมัครที่ช่วยสื่อสารกับกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่บ้านจ้อง ต.โป่งผา อ.แม่สาย จ.เชียงราย และอาสากู้ภัยพิชิตโควิด-19 จ.สมุทรสงคราม
ชุมชนมหาวิทยาลัยกับการรับมือโควิด-19พบกับความเคลื่อนไหว นวัตกรรม การจัดการ รวมถึงการเป็นสถาบันวิชาการที่จับมือกับชุมชนในท้องถิ่นทำหน้าที่ช่วยเหลือ สื่อสารกับประชาชนในช่วงโควิด-19 ระบาด จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วิถี “ปลาแลกข้าว” ในช่วงโควิด-19ติดตามวิถี “ปลาแลกข้าว” หลังข้าวสารจากยโสธรล็อตแรกมาถึงมือชาวเลอันดามัน และพบกับการสนทนาระหว่างกันของผู้แลกเปลี่ยนทรัพยากรจากทั้ง 3 ภาคเพื่อแสวงหาทางรอดจากวิกฤตโควิด-19
ผู้ประกอบการปรับตัวอย่างไร รับมือโควิด-19สแกนสถานการณ์ของผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่ - รายย่อย จะปรับตัวให้รอดและจะไปต่ออย่างไร ฟังจากเสียงผู้ประกอบการตั้งแต่ Wongnai , Locall รวมถึงเจ้าของร้านหมูกระทะ - เนื้อย่าง
การปรับตัวสู้โควิด-19 ของแรงงานร่วมสนทนากรณีโรงแรมที่ภูเก็ตปิด 100% แรงงานจะทำอย่างไร ขณะที่เครือข่ายแรงงาน องค์กรพัฒนาเอกชน และนักวิชาการ ยื่นข้อเสนอต่อรัฐบาลเพราะมาตรการเยียวยาที่ผ่านมาไม่บรรลุผล
การรับมือโควิด-19 ของคนไทยในต่างแดนไปดูการรับมือกับโควิด-19 ของคนไทยในต่างแดน ทั้งอังกฤษ ออสเตรีย แคนาดา และนิวซีแลนด์ รวมถึงแนวทางการดูแลผู้ลี้ภัยและบุคคลไร้สัญชาติของ UNHCR
มหาวิทยาลัยสู้โควิด-19ติดตามความเคลื่อนไหวของนักศึกษา ม.กรุงเทพ และ ม.เชียงใหม่ ที่ออกมาเรียกร้องลดค่าเทอม และไปดูห้องเรียนออนไลน์ของ ม.ทักษิณ สู้โควิด-19 ด้วยภูมิปัญญาใต้
วิธีคิดข้าวแลกปลาสำรวจมื้อสำคัญของชาวยโสธร หลังได้รับปลาจากพี่น้องชาวเล และไปพูดคุยกับคุณสนิท แซ่ซั่ว ชาวเลอูรักลาโว้ย และ คุณสรศักดิ์ เสนาะพรไพร เครือข่ายเกษตรกรภาคเหนือ (คกน.) ถึงวิธีคิดการจัดการข้าว ไปจนถึงข้อเสนอระยะยาว "พื้นที่เขตวัฒนธรรมพิเศษ"
ชุมชนเมืองสู้โควิด-19พบกับการเชื่อมต่อ 60 ชุมชนเมืองใน กทม. สู้โควิด-19 และไปรู้จักกลุ่ม “อาสาพาส่ง” กิจกรรมอาสาเชื่อมผู้ให้ - จิตอาสา และชาวชุมชนทองหล่อ
ความมั่นคงทางอาหารยุค New Normalธนาคารข้าวและเงินทุนของบ้านโนนคูณ จ.ขอนแก่น ความมั่นคงที่ชุมชนมอบแด่สมาชิกให้หยิบยืม และ เมนูแบ่งปัน “ปลาสากผัดเครื่องแกงราดข้าว” ของฝากจากชาวประมงพื้นบ้าน “จะนะ” สู่คนเมือง “หาดใหญ่”
วิกฤตแรงงาน ในวิกฤตโควิด-19เปิดหมุดสำรวจแรงงานผ่านแอปพลิเคชัน C-Site กระทบหมด ทั้งแรงงานผลิตรถยนต์ตะวันออก แรงงานในเมืองเชียงใหม่ แรงงานเพื่อนบ้านในตลาดจตุจักร และวิดีโอคอลกับ ดร.นฤมล ทับจุมพล ร่วมด้วย คุณปภพ เสียมหาญ ในประเด็น “ชีวิต เศรษฐกิจ และสิทธิของแรงงานข้ามชาติ”
หลายมหาวิทยาลัยปรับตัวสู้โควิด-19นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ จับมือชุมชนพยุหะคีรี สื่อสารเชิงรุกสู้โควิด-19 และไปรู้จัก “น้องยูงทอง” นวัตกรรมหุ่นยนต์ ลดการสัมผัสและให้บริการผู้ป่วย
I Just Called To Say I Love You อัลบั้ม The Woman in Red: Original Motion Picture Soundtrack พ.ศ. 2527 Covered By เอิ๊ต ภัทรวี
เจาะลึกทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลังวงการกีฬาทั้งในและต่างประเทศ ในรายการสุดสัปดาห์ กีฬามันส์ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 13.30 น. ทางไทยพีบีเอส
เกาะติดข่าวทุกวันหยุดในรายการ "ชั่วโมงข่าว เสาร์ - อาทิตย์" ทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 08.30 - 10.00 น. ทางไทยพีบีเอส
เรื่องราวของภาวะเท้าแบนในเด็ก ต่อกันด้วยกิจกรรมร้อยลูกปัด เสริมทักษะการใช้กล้ามเนื้อและเพิ่มความสัมพันธ์ และโยคะกระตุ้นต่อมน้ำเหลือง เสริมภูมิคุ้มกัน
พ่อโกเนี้ยว สุดยอดช่างตีมีดดาบโบราณ และผู้ปลุกปั้นช่างพลอยแห่งชมรมบ้านเจียระไนพลอย ต่อกันด้วยสำรับตำรับยาย พาลิ้มลองเมนูหากินได้ยาก ซึ่งมีเฉพาะแค่โซนภาคใต้เท่านั้นกับเมนู "แกงกะทิกุ้งใส่มันขี้หนูบัวบก"
ชวนคุณผู้ชมไปรู้จักความหมายของคำว่า ‘GUITAR HERO’ ให้มากขึ้น กับการเดินทางกลับไปสู่ความรุ่งเรืองของยุค ‘GUITAR HERO’ ผ่านเรื่องเล่าจาก กิตติ กีตาร์ปืน และหมู คาไลโดสโคป สองมือกีตาร์ฮีโร่ของเมืองไทย
กระแสรถยนต์ไฮบริดถูกกลับมาพูดถึงอีกครั้ง หลังจากที่จีนซึ่งเป็นเจ้าตลาดรถยนต์ EV โดดลงมาเล่นในตลาดนี้ด้วย เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้ากลุ่มที่ยังมีความลังเลเรื่องการใช้รถยนต์ EV ทำให้ตอนนี้ เจ้าใหญ่ด้านรถยนต์ไฮบริดอย่างญี่ปุ่น เริ่มมีคู่แข่ง
รู้หรือไม่ว่าแท้จริงแล้วโลกของเราไม่ได้กลมสนิท แต่เป็นเหมือนผลส้ม โดยประกอบไปด้วยชั้นต่าง ๆ ที่ซ้อนกันอยู่ภายใน ไม่ว่าจะเป็นแก่นโลกชั้นใน แก่นโลกชั้นนอก ชั้นเนื้อโลก และชั้นเปลือกโลกที่เราอาศัยอยู่
หากแก่นโลกหยุดหมุนจริง จะเกิดปรากฏการณ์ฟ้าผ่าและภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรวดเร็วเหมือนใน The Core หรือไม่ และจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ “สนามแม่เหล็กโลก” และความผิดปกติของปรากฏการณ์แสงเหนือ หรือ ออโรรา อย่างไร
การแต่งตัวสีเดียวในญี่ปุ่นไม่ใช่แค่แฟชั่น ! คนญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับความเรียบง่ายและเป็นธรรมชาติ การเลือกเสื้อผ้าสีเดียวจึงสะท้อนค่านิยมนี้ได้ดี เหมาะทั้งทำงานและชีวิตประจำวัน ฟูจิได้รับคำถามน่าสนใจจากเพื่อน ๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมการแต่งตัวของคนญี่ปุ่นที่มักนิยมสวมใส่เสื้อผ้าสีเรียบ ๆ โดยเฉพาะโทนสีดำ แม้ว่าเขาจะไม่อยากแต่งตัวแบบนั้น แต่ก็ต้องคำนึงถึงความรู้สึกของคนรอบข้าง แม้วันนี้เขามีกำหนดการไปถ่ายรายการ และกำลังลังเลเรื่องการเลือกเสื้อผ้า เขาอยากใส่เสื้อสีเหลืองหรือแดง แต่กลัวว่าจะถูกมองว่าแปลกหรือไม่สำรวม หรือดูโดดเด่นเกินกว่าผู้อื่น ทั้งหัวหน้าและลูกน้อง ความกังวลเหล่านี้ทำให้เขาคิดมาก แล้วคนญี่ปุ่นมีวิธีการแก้ปัญหานี้อย่างไร? พวกเขายังคงใส่สีเรียบแต่จะมีลูกเล่นเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่แตกต่างกันเพื่อแสดงความเป็นตัวตนหรือไม่? ฟูจิเปิดเผยว่าเขาอยากใส่เสื้อที่มีสีสันสดใสมากกว่า บางทีอาจจะเป็นเสื้อที่มีความวับวาวนิดหน่อย แต่ก็รู้สึกว่าอาจจะเวอร์เกินไปสำหรับตัวเอง เขายังเล่าถึงวิธีสังเกตนักท่องเที่ยวในญี่ปุ่นว่า หากเห็นใครสวมเสื้อผ้าสีสันฉูดฉาด มักจะไม่ใช่คนญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังมีเรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับการสวมชุดทำงานที่มีโลโก้บริษัทขึ้นรถไฟในญี่ปุ่น ซึ่งโดยทั่วไปแล้วไม่เป็นที่นิยม เพราะหากสวมชุดที่มีแบรนด์บริษัทแล้วมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่น นอนอ้าปากบนรถไฟ อาจส่งผลต่อภาพลักษณ์ของบริษัทได้ ทำไมวัฒนธรรมการแต่งกายของคนญี่ปุ่นจึงเคร่งครัดเช่นนี้? และจะมีวิธีการแสดงออกถึงความเป็นตัวเองผ่านการแต่งกายโดยไม่ขัดกับวัฒนธรรมได้อย่างไร? มาดูให้รู้พร้อมกัน #แต่งตัวแบบญี่ปุ่น #แฟชั่นญี่ปุ่น #สีเดียวดูดี #คลิปน่ารู้จากญี่ปุ่น #ดูให้รู้ #ฟูจิเซ็นเซ #ThaiPBS #Japan #ญี่ปุ่น
ใครจะเชื่อว่าในวัย 89 ปี ยังมีนักกล้ามฟิตแอนด์เฟิร์มคว้ารางวัลเพาะกายถึง 17 เวที ! ฟูจิเซ็นเซจะไปพารู้จักกับคุณตานักกล้าม “Toshisuke Kanazawa” ผู้ทุ่มเทดูแลตัวเอง เพื่อพิสูจน์ว่า “ทุกคนทำได้” ไม่ว่าจะเริ่มเมื่อไรก็ตาม ซึ่งเคล็ดลับในการดูแลตัวเองของคุณตาก็คือ กินโปรตีนวันละ 5 ครั้ง ไม่กินเนื้อสัตว์ เวลากินต้องยืนกินเท่านั้น !
"คนหาเกสรดอกบัว" ที่บ้านหลุบคา อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น อาชีพที่ต้องออกทำงานตั้งแต่ตี 3 ต้องใช้แรงกายถ่อเรือเก็บดอกบัว แต่สามารถสร้างรายได้หลัก 1,000 ต่อวัน
พบกับเรื่องราว "ของคนหาเกสรดอกบัว" ชีวิตที่ต้องเริ่มแต่เช้ามืด และเกสรบัวจากธรรมชาติ เลี้ยงชีพพวกเขาได้อย่างไร
ภัตตาคารบ้านทุ่ง บุกตะลุยเข้าป่าดิบชื้น พาไปตามหา "บอนกลัก" ที่ ต.เขาต่อ อ.ปลายพระยา จ.กระบี่ พร้อมเข้าครัวปรุงเมนูพื้นถิ่น "แกงส้มบอนกลัก" และเมนูของหวาน "บวดสาคูบอนกลัก"
เมื่อทีมงานบุกย่านหลังรามคำแหง มาดูกันว่าการเดินในกรุงเทพฯ กับต่างจังหวัดพวกเขาจะเดินน้อยลง หรือมากขึ้น และจะได้เจอใครบ้าง
ออกเดินทางตามหาเพื่อนใหม่กับ “เปอร์-สุวิกรม” อีกครั้ง ในครั้งนี้พาไปบุก “ย่านหลังรามคำแหง” หรือซอยรามคำแหง 24 ครั้งนี้ได้พบกับวิถีชีวิตที่หลากหลาย ทั้งพ่อค้า-แม่ค้า วินมอเตอร์ไซค์ และนักศึกษาที่ใช้ชีวิตอยู่ในย่านหลังรามคำแหง
สังข์ทอง ไม้พลอง ทองใบ สามเพื่อนสนิทที่เป็นทาสอยู่ในเรือนคุณพระบำเรอกรุง ความกะล่อนของสังข์ทอง ขี้ขโมยของไม้พลอง และสิ่งประดิษฐ์ที่ได้เรื่องบ้างไม่ได้เรื่องบ้างของทองใบ ทำให้คุณพระหัวเสียและลงโทษสามทาสเป็นประจำ จนวันที่คุณพระแต่งงานกับนวลละออ สาวชาววังที่คุณพระหมายปอง ก็เกิดสุริยุปราคาขึ้นระหว่างที่ฟ้ามืดมิด ก็เกิดเสียงปืนดังลั่น คุณพระตายในงานแต่งงาน ทองใบตกเป็นผู้ต้องสงสัยว่าเป็นฆาตกร
วิชัยเห็นเจเจแอบขโมยมะม่วงของเขาจนเรื่องถึงโรงพัก ตำรวจไกล่เกลี่ยให้เจเจมารดน้ำต้นไม้ให้วิชัยทุกวันเป็นการลงโทษ จุดเริ่มต้นของมิตรภาพต่างวัยจึงได้เกิดขึ้น
หมื่นอินทร์บอกว่าตนเป็นคนที่ฆ่าคุณพระบำเรอกรุง แต่พอสังข์ทองกับไม้พลองจะจับกุมหมื่นอินทร์ ก็มีอั้งยี่โผล่มาขัดขวางและเกิดการยิงกันขึ้น จนสามทาสต้องหนีเอาตัวรอดก่อน โจลี่พาสามทาสไปซ่อนที่บ้านพักมิชชันนารี สามทาสคุยกันว่าใครเป็นคนที่ฆ่าคุณพระบำเรอกรุงกันแน่ ระหว่างนั้นหมื่นอินทร์ตามมาจะจับทองใบ สามทาสต้องรีบหาที่ซ่อนในบ้านพักมิชชันนารี และได้พบความลับบางอย่าง
สังข์ทองไปขอให้นวลละออช่วยไม่ให้ทองใบโดนประหาร แต่กลับโดนไล่ไป สังข์ทองกลับมาเจอไม้พลอง ไม้พลองเล่าเรื่องโจลี่กับรำพึงให้สังข์ทองฟัง สังข์ทองเครียดมากที่หาทางช่วยทองใบไม่ได้ ในที่สุด ก็ถึงวันประหารทองใบ ในขณะที่เพชรฆาตจะลงดาบ ก็มีใครบางคนเข้ามาขวางเอาไว้และบอกสิ่งที่ทุกคนไม่คาดคิด
ตามหาผลไม้ไทยพื้นบ้าน มากสรรพคุณอย่าง "มะตูมไข่" ที่ ต.บ้านขวาง อ.มหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา พร้อมเข้าครัวปรุงเมนูพื้นบ้าน "ก้อยมะตูมไข่" และเมนูของหวาน "ปังปิ้งเตาถ่านมะตูมไข่"
เมื่อทองใบรู้ความลับของหมื่นอินทร์ วัดร้างจึงไม่ปลอดภัยสำหรับทองใบ สังข์ทองกับไม้พลองจึงพาทองใบไปซ่อนที่อื่น แต่ระหว่างนั้น โจลี่มาเจอทองใบอยู่คนเดียว จึงให้ไปพักที่บ้านพักมิชชันนารี ส่วนสังข์ทองกับไม้พลองตามหมื่นอินทร์ไปที่หอคณิกาหวังเอาคำสารภาพ ในขณะเดียวกันทองใบได้ยินข้อความบางอย่างจากโจลี่ที่ชวนสงสัยว่าโจลี่ก็ดูมีความแค้นบางอย่างกับคุณพระบำเรอกรุง
ชวนคุยประเด็นร้อน...ตั้งตารอ "อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล" 24 - 26 มี.ค. 68 รอดูหมัดเด็ดพรรคฝ่ายค้าน ในศึกอภิปรายฯ ส่องอนาคตหลังศึกอภิปรายฯ ไม่เกิน 2 เดือน มีปรับ ครม. "ดีลแลกประเทศ" ดีลกับใคร แลกอะไร ? แล้ว "บุคคลในครอบครัว" จุดอ่อนนายกฯ อิ๊ง อย่างไร
ชวนคุยประเด็นร้อน...Entertainment Complex ไม่เท่ากับกาสิโน ! แล้ว "กาสิโน - พนันออนไลน์" ทางเลือกสุดท้ายกระตุ้นเศรษฐกิจไทยหรือ ? วัยรุ่นเซ็ง ! แจกเงินหมื่น ไม่ทันสงกรานต์ เศรษฐกิจไทยดีหรือแย่ ? รัฐบาลยังพูดไม่ตรงกัน เก็บตกนายกฯ อิ๊ง หลังศึกอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล แล้วดีลปีศาจ ดีลอะไร ใครคือปีศาจ ? "ตั๋ว PN" เลี่ยงภาษีหรือไม่ ?
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส