การจัดการเชิงป้องกันเพื่อสู้โควิด-19พบกับการจัดการชุมชนเพื่อรอดพ้นจากสถานการณ์โควิด-19 ในภาคเหนือ, อีสาน, ใต้ และพูดคุยกับนายก อบต.ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี เกี่ยวกับการจัดการเชิงป้องกันเพื่อสู้กับโควิด-19
การเฝ้าระวังโควิด-19 ของชุมชนบ้านน้ำเค็ม จ.พังงาไปดูการทำงานเชิงรุกของชาวบ้านชุมชนบ้านน้ำเค็ม อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา กับการคัดกรองเฝ้าระวัง ทำให้พังงาเป็น 1 ใน 3 จังหวัดของภาคใต้ที่ยังไม่พบผู้ติดเชื้อ
ชุมชนชาวตลาดสู้โควิด-19การรับมือของ 3 ตลาดในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ปากคลองตลาด, ตลาดห้วยขวาง, ตลาดยิ่งเจริญ เมื่อสังคมไทยและตลาดเป็นของคู่กัน ในวันที่ต้องเผชิญกับวิกฤตโควิด-19 พวกเขาจะทำอย่างไร
สถานการณ์คุมโควิด-19 ที่ 3 ชายแดนไปดูสถานการณ์ใน 3 ชายแดนที่แม่สอด, อรัญประเทศ และด่านนอก หลังจากที่มีการปิดด่านพรมแดนเพื่อบ้าน (เมียนมา – กัมพูชา- มาเลเซีย) เพื่อควบคุมสถานการณ์โควิด-19
สแกนสถานการณ์ชายแดนไทย - กัมพูชาสแกนสถานการณ์ชายแดนหลังจากมีคำสั่งปิดด่าน พูดคุยกับปูเป้ - กัลยาวีร์ แววคล้ายหงษ์ ผู้สื่อข่าวที่ลงพื้นที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองบ้านคลองลึก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ชายแดนไทย - กัมพูชา
สร้างพลังใจสู้โควิด-19 ในช่วงสงกรานต์ไปฟังคำให้พรจากพระไพศาล วิสาโล เจ้าอาวาสวัดป่าสุคะโต จังหวัดชัยภูมิ เพื่อสร้างพลังใจในการใช้ชีวิตช่วงเทศกาลสงกรานต์ ที่ปีนี้มาพร้อมกับโควิด-19
สแกนกลุ่มคนไร้บ้านไปสแกนกลุ่มคนไร้บ้านที่เชียงใหม่, ขอนแก่น และที่กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 มากที่สุดกลุ่มหนึ่ง
บทบาทวัดในวันที่เผชิญโควิด-19การปรับบทบาทของวัด พระสงฆ์ และกิจกรรมทางพุทธศาสนาในวันที่ต้องเผชิญกับวิกฤตโควิด-19 ทั้งจาก จ.เชียงใหม่ จ.ร้อยเอ็ด และ จ.นครศรีธรรมราช
พลังจิตอาสาสู้โควิด-19พบกับจิตอาสาที่หลากหลายตั้งแต่ “จิตอาสารับสาย 1422” อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว อาสาสมัครที่ช่วยสื่อสารกับกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่บ้านจ้อง ต.โป่งผา อ.แม่สาย จ.เชียงราย และอาสากู้ภัยพิชิตโควิด-19 จ.สมุทรสงคราม
ชุมชนมหาวิทยาลัยกับการรับมือโควิด-19พบกับความเคลื่อนไหว นวัตกรรม การจัดการ รวมถึงการเป็นสถาบันวิชาการที่จับมือกับชุมชนในท้องถิ่นทำหน้าที่ช่วยเหลือ สื่อสารกับประชาชนในช่วงโควิด-19 ระบาด จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
วิถี “ปลาแลกข้าว” ในช่วงโควิด-19ติดตามวิถี “ปลาแลกข้าว” หลังข้าวสารจากยโสธรล็อตแรกมาถึงมือชาวเลอันดามัน และพบกับการสนทนาระหว่างกันของผู้แลกเปลี่ยนทรัพยากรจากทั้ง 3 ภาคเพื่อแสวงหาทางรอดจากวิกฤตโควิด-19
ผู้ประกอบการปรับตัวอย่างไร รับมือโควิด-19สแกนสถานการณ์ของผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่ - รายย่อย จะปรับตัวให้รอดและจะไปต่ออย่างไร ฟังจากเสียงผู้ประกอบการตั้งแต่ Wongnai , Locall รวมถึงเจ้าของร้านหมูกระทะ - เนื้อย่าง
การปรับตัวสู้โควิด-19 ของแรงงานร่วมสนทนากรณีโรงแรมที่ภูเก็ตปิด 100% แรงงานจะทำอย่างไร ขณะที่เครือข่ายแรงงาน องค์กรพัฒนาเอกชน และนักวิชาการ ยื่นข้อเสนอต่อรัฐบาลเพราะมาตรการเยียวยาที่ผ่านมาไม่บรรลุผล
การรับมือโควิด-19 ของคนไทยในต่างแดนไปดูการรับมือกับโควิด-19 ของคนไทยในต่างแดน ทั้งอังกฤษ ออสเตรีย แคนาดา และนิวซีแลนด์ รวมถึงแนวทางการดูแลผู้ลี้ภัยและบุคคลไร้สัญชาติของ UNHCR
มหาวิทยาลัยสู้โควิด-19ติดตามความเคลื่อนไหวของนักศึกษา ม.กรุงเทพ และ ม.เชียงใหม่ ที่ออกมาเรียกร้องลดค่าเทอม และไปดูห้องเรียนออนไลน์ของ ม.ทักษิณ สู้โควิด-19 ด้วยภูมิปัญญาใต้
วิธีคิดข้าวแลกปลาสำรวจมื้อสำคัญของชาวยโสธร หลังได้รับปลาจากพี่น้องชาวเล และไปพูดคุยกับคุณสนิท แซ่ซั่ว ชาวเลอูรักลาโว้ย และ คุณสรศักดิ์ เสนาะพรไพร เครือข่ายเกษตรกรภาคเหนือ (คกน.) ถึงวิธีคิดการจัดการข้าว ไปจนถึงข้อเสนอระยะยาว "พื้นที่เขตวัฒนธรรมพิเศษ"
ชุมชนเมืองสู้โควิด-19พบกับการเชื่อมต่อ 60 ชุมชนเมืองใน กทม. สู้โควิด-19 และไปรู้จักกลุ่ม “อาสาพาส่ง” กิจกรรมอาสาเชื่อมผู้ให้ - จิตอาสา และชาวชุมชนทองหล่อ
ความมั่นคงทางอาหารยุค New Normalธนาคารข้าวและเงินทุนของบ้านโนนคูณ จ.ขอนแก่น ความมั่นคงที่ชุมชนมอบแด่สมาชิกให้หยิบยืม และ เมนูแบ่งปัน “ปลาสากผัดเครื่องแกงราดข้าว” ของฝากจากชาวประมงพื้นบ้าน “จะนะ” สู่คนเมือง “หาดใหญ่”
วิกฤตแรงงาน ในวิกฤตโควิด-19เปิดหมุดสำรวจแรงงานผ่านแอปพลิเคชัน C-Site กระทบหมด ทั้งแรงงานผลิตรถยนต์ตะวันออก แรงงานในเมืองเชียงใหม่ แรงงานเพื่อนบ้านในตลาดจตุจักร และวิดีโอคอลกับ ดร.นฤมล ทับจุมพล ร่วมด้วย คุณปภพ เสียมหาญ ในประเด็น “ชีวิต เศรษฐกิจ และสิทธิของแรงงานข้ามชาติ”
หลายมหาวิทยาลัยปรับตัวสู้โควิด-19นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ จับมือชุมชนพยุหะคีรี สื่อสารเชิงรุกสู้โควิด-19 และไปรู้จัก “น้องยูงทอง” นวัตกรรมหุ่นยนต์ ลดการสัมผัสและให้บริการผู้ป่วย
No More Lonely Nights - Paul McCartney อัลบั้ม Give My Regards to Broad Street ปี ค.ศ.1973 ขับร้อง : บรรณ ใบชา
ยิ่งใกล้ถึงวันที่คุณขำต้องไปสอบแข่งขันประชันฝีมือตำแหน่งแม่ครัวหลวง ก็ยิ่งเป็นห่วงอาการประชวรของพระองค์เจ้าวิลาสเลยทำให้คุณขำเป็นกังวลไม่อยากไปสอบ คุณสุดจึงพยายามให้กำลังใจอย่างใกล้ชิด
ติดตามกระแสข่าวแวดวงศิลปวัฒนธรรมบันเทิง ทั้งในและต่างประเทศ ในรายการไทยบันเทิง วันที่ 18 ม.ค. 68 เวลา 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
เรากำลังอยู่ในช่วงของฤดูฝุ่น ซึ่งเป็นเหมือนฝันร้ายที่สังคมเผชิญร่วมกันในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แม้จะเห็นความพยายาม ในการเตรียมรับมือสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ของภาคส่วนต่าง ๆ ในปีนี้ ล่วงหน้า
ชวนเข้าครัวทำขนมหวานญี่ปุ่นแบบโบราณ อย่าง เนริกิริ (Nerikiri) ขนมหวานที่นิยมเสิร์ฟในพิธีชงชา ทำจากถั่วขาวอินทรีย์กวน และเพิ่มสีสันลวดลายสวยงามตามช่วงฤดูกาล ปั้นเป็นรูปดอกไม้ฤดูหนาว อย่าง ดอกโบตั๋น กับ ลูกส้ม
แม้ว่าคุณสุดจะสอบผ่าน แต่กรมหมื่นไกรสรวิชิตก็ยังเป็นกังวลอยู่กลัวจะมีปัญหาเพราะคุณสุดเป็นผู้หญิง จึงไปปรึกษากับพระองค์ชายนวมเพื่อจัดสอบอาลักษณ์หลวงด้วยการสอบคัดลายมืออีกครั้ง จะได้ไม่เป็นที่ครหาของเหล่าบุตรหลานขุนนางที่ร่วมแข่งขัน เมื่อพระองค์เจ้าวิลาสรู้จึงสั่งให้คุณสุวรรณสอนคุณสุดอย่างสุดฝีมือ
หลังจากพระเจนอภิบาลได้เบาะแสเรื่องพ่อค้าฝิ่นรายใหญ่ก็ได้นำกำลังตำรวจหลวงบุกไปจับเจ้าสัวเหลียงทันที แต่เจ้าสัวเหลียงไม่ยอมให้จับง่าย ๆ ทำให้เกิดการปะทะขึ้น ส่วนแม่แก้วหลบหนีไปกับชุ่ม ซึ่งสร้างความกังวลใจให้พระองค์เจ้าวิลาสอย่างมากเพราะเกรงแม่แก้วจะก่อเรื่องเดือดร้อนขึ้นอีก
เมื่อพระเจนอภิบาลได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้เป็นแม่กองปราบฝิ่นที่หัวเมืองปักษ์ใต้ ก่อนออกเดินทางจึงไปขอคำอวยพรปลอบขวัญจากคุณขำ และยังฝากผ้ายกเมืองนครมาให้อีกด้วย ซึ่งสร้างความไม่สบายใจให้ คุณสุดจนพระองค์เจ้าวิลาส ต้องเก็บผ้าผืนนี้ไว้ก่อนเพื่อให้คุณสุดได้ตั้งใจสอบอาลักษณ์หลวงให้ผ่านตามความมุ่งหวัง
สูตรเด็ดเคล็ด(ไม่)ลับ กับเมนูเคยคั่วหอยไฟไหม้ดอง เมนูชวนข้าวหมดหม้อ อร่อยจนต้องขอเติม ติดตามได้ในรายการภัตตาคารบ้านทุ่ง ชมวิธีทำต่อได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/BanTung/episodes/104918
การจากไปอย่างกะทันหันของอึ่งทำให้แม่เนียมไม่สบายใจถึงขั้นกินไม่ได้และนอนฝันร้ายทุกคืน ทุกคนในเรือนบ่าวเห็นอาการของแม่เนียมจึงเป็นห่วง จนยวงต้องตัดสินใจไปปรึกษาพระองค์เจ้าวิลาสเพื่อหาทางปลอบใจ
ถือว่าเป็นการเปิดประสบการณ์การดำน้ำในต่างประเทศครั้งแรกของ Navigator ทุกอย่างดูแปลกตาและตื่นเต้นมากๆ เพราะที่ Red Sea ของประเทศอียิปต์ เราจะได้มีโอกาสเจอสัตว์ใหญ่ใต้ท้องทะเลหลายชนิด โดยเฉพาะไฮไลท์ของที่นี่คือ ฉลามหัวค้อน นอกจากนี้การท่องเที่ยวบนบกของที่อียิปต์ยิ่งน่าสนใจโดยเฉพาะ ความยิ่งใหญ่ ของสิ่งก่อสร้างที่ชื่อว่า "พีระมิด"
หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพฯ เสด็จสวรรคต สร้างความโศกเศร้าให้ พระองค์เจ้าดาราวดี อย่างยิ่ง รวมถึง หม่อมขำ ก็ร้องไห้หนัก จน หม่อมสุด ต้องคอยปลอบใจ ระหว่างนั้น หม่อมสอน กับ หม่อมเภา ผ่านมาเห็น ก็ว่าหม่อมขำกับหม่อมสุดเป็นคู่เล่นเพื่อนกัน
ยิ่งใกล้ถึงวันที่คุณขำต้องไปสอบแข่งขันประชันฝีมือตำแหน่งแม่ครัวหลวง ก็ยิ่งเป็นห่วงอาการประชวรของพระองค์เจ้าวิลาสเลยทำให้คุณขำเป็นกังวลไม่อยากไปสอบ คุณสุดจึงพยายามให้กำลังใจอย่างใกล้ชิด
คุณสุด ตัดสินใจไปกราบทูลขอประทานอนุญาตพระองค์เจ้าวิลาส เพื่ออยู่กินกับคุณขำดังเช่นคู่เล่นเพื่อนคู่อื่น ๆ ซึ่งทำให้พระองค์เจ้าวิลาสรวมถึงคุณสุวรรณพยายามดึงสติคุณสุดด้วยความเป็นห่วง
บทบาทใหม่ของ #ก๊อตจิรายุ และการร่วมงานกับไทยพีบีเอสครั้งแรก! แค่เปิดตัว "ปกรณ์" มาก็หล่อหนักมาก แฟน ๆ เตรียมกรี๊ดกันได้เลย พบกันในละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ละครรัก ย้อนประวัติศาสตร์
ความรักเอย ... เจ้าลอยลมมาหรือไร .... มาดลจิต มาดลใจ เสน่หา เพลง : เสน่หา (เพลงประกอบละคร "จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี") คำร้อง : มนัส ปิติสานต์ เรียบเรียง : ณัฐพากย์ กวีธรรมวงษ์ ขับร้อง : จีรภัทร จันทร์แจ้ง ติดตามชมละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ตอนแรก วันที่ 1 – 2 มกราคมนี้ เวลา 20.15 - 21.10 น. ทาง #ThaiPBS #ช่องหมายเลข3 ▶ ชมสดออนไลน์ Website : www.thaipbs.or.th/Live Facebook : @ThaiPBS ▶ ชมอีกครั้งทาง Website : www.VIPA.me Application VIPA : https://bit.ly/3rJQ7HA
นุชนาฏ ได้งานเป็นผู้ช่วยเชฟในโรงเรียนสอนทําอาหารในโรงแรมชื่อดังเธอได้ร่วมงานกับหัวหน้าเชฟสุดเนี้ยบอย่าง ปกรณ์ ที่เป็นคนไทยเหมือนกันแต่กลับไม่เคยออมชอม...
เบื้องหลังการผลิตละครหม่อมเป็ดสวรรค์นั้นมีความน่าสนใจในหลากหลายแง่มุม ทั้งวิธีคิดในการหยิบยกเอาเรื่องราวความหลากหลายทางเพศที่เกิดขึ้นจริงในยุคสมัยของรัชกาลที่ 3 ซึ่งไม่เพียงสะท้อนถึงเรื่องราวที่มีต้นกำเนิดจาก บทประพันธ์เพลงยาวหม่อมเป็ดสวรรค์เท่านั้นยังครอบคลุมถึงวิธีคิดในการสืบค้นข้อมูลจำนวนมากของเหล่าทีมงานเบื้องหลัง
ครูทองคำหลังจากแสดงในงานพระศพพระองค์เจ้าสังข์เสร็จก็ออกไปเป็นละครเร่ดังเดิม ยวงชวนปานไปเปิดหูเปิดตาที่ตลาด พอปริกรู้จึงขอตามไปด้วยเผื่อจะได้เจอกับมั่นพร้อมทั้งอาสาพาปานไปเที่ยววัดโพธิ์ด้วย ระหว่างที่ปริกแอบเลี่ยงไปหามั่น อึ่งสะกดรอยตามไปด้วยความหึงหวงและโกรธแค้นใจ
น้ำชุบ หรือที่คนทั่วไปรู้จักในกันว่าน้ำพริก เป็นอาหารรสชาติเผ็ดร้อน ที่บ่งบอกความเป็นตัวตนของคนใต้ได้เป็นอย่างดี ทุกพื้นที่ของภาคใต้ล้วนมีเมนูน้ำชุบที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ แต่มีเพียงที่เดียวเท่านั้นที่ได้นำของเหลือทิ้งอย่างกะลามะพร้าว หรือพรก มาต่อยอดให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ประจำชุมชนที่ชื่อว่า "น้ำชุบพรก"
เรื่องราวเริ่มบานปลายเมื่อ คุณสุด กับ คุณขำ มีเรื่องกับ แม่แก้ว และ ชุ่ม ที่ตลาด แม่แก้วเอาไปร้องเรียนกรมวังเพื่อเอาผิดคุณสุดกับคุณขำ เพราะทั้งคู่ทำผิดกฎมณเฑียรบาล ที่ว่าเป็นพวกเล่นเพื่อนกัน วุ่นวายถึงศาลหลวงต้องสั่งให้ตระลาการไต่สวนข้อเท็จจริงในคดีความนี้เป็นการด่วน
ระหว่างที่ "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" กำลังเตรียมอาหารอยู่ในครัวตามที่ได้รับมอบหมายหน้าที่จาก พระองค์เจ้าดาราวดี ให้ดูแลเครื่องเสวยถวายเจ้านายในงานพระศพ หม่อมขำ ได้ทำการลองชิมให้ได้รสที่ถูกใจก่อนถวาย พอ "หม่อมแก้ว" เห็นก็ไม่พอใจที่ หม่อมขำ ตักอาหารกินก่อนเจ้านาย พยายามเอาเรื่องให้ถึงที่สุด
"พระองค์เจ้าวิลาส" เสด็จไปร่วมงานพระศพฯ "หม่อมขำ" ซึ่งทำหน้าที่ดูแลเครื่องเสวยก็ได้จัดเตรียมพระกระยาหารด้วยความกังวลเพราะกลัวจะไม่ถูกพระโอษฐ์พระองค์เจ้าวิลาส พอ "หม่อมสุด" เห็นก็เป็นห่วง จึงพยายามปลอบและให้กำลังใจ
หลังจากคณะละครของครูทองคำได้รับมอบหมายให้แสดงในงานพระศพพระองค์เจ้าสังข์ ครูทองคำตั้งใจจะไปขออนุญาตนำนิทานคำกลอนของท่านสุนทรภู่มาใช้ในการแสดง แต่มีเหตุการณ์บางอย่างทำให้ครูทองคำได้ตัดสินใจจะออกจากพระนครอีกครั้ง
หลังจาก "พระองค์เจ้าวิลาส" ได้ชิมและตัดสินการแข่งขันการทำแกงเนื้อของ "คุณขำ" กับ "แม่อึ่ง" ทั้งคู่ก็เริ่มเปิดใจให้กันมากขึ้น รวมถึงความสัมพันธ์ของคุณขำ กับคุณสุด ก็กำลังไปได้ด้วยดี
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส