ถามตอบข้อสงสัย (17 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : จัดบ้านอย่างไรให้เหมาะกับผู้สูงวัย, วิธีถนอมอาหารและหลักโภชนาการที่เหมาะกับช่วงอยู่บ้าน หยุดเชื้อโควิด-19 และ ข้อแนะนำการออกกำลังกายที่บ้าน
ถามตอบข้อสงสัย (20 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : มาตรการเยียวยาช่วยเหลือแรงงานที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด-19, มาตรการ Social Distancing ในการบริจาคเพื่อผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 และ ข้อควรปฏิบัติ เมื่อผู้ป่วยโควิด-19 หายป่วยและกลับมาอยู่บ้าน
ถามตอบข้อสงสัย (21 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : การจ่ายค่าตรวจโควิด-19 และสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ตามสิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติ, ไทยเสี่ยงแค่ไหนกับการระบาดระลอกที่ 2 และ การสกัดพลาสมาจากเลือดผู้ป่วยที่หายแล้วสู่การวิจัย
ถามตอบข้อสงสัย (22 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : มาตรการช่วยเหลือผู้ใช้ไฟฟ้าที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19, มาตรการป้องกันไวรัสในชัยนาท จังหวัดสีขาวปลอดโควิด-19 และ วิธีดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงสูง อาการรุนแรงหากติดโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (23 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : มาตรการจัดตั้งโรงทาน, แนวทางปฏิบัติตนในช่วงรอมฎอน, สุราและยาสูบ เพิ่มความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้อย่างไร และ สื่อสารอย่างไร ให้ลูกเข้าใจโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (24 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : วัคซีนกับความหวังในกาารรักษาโควิด-19, การรณรงค์ฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ใน 7 กลุ่มเสี่ยง, การมีเพศสัมพันธ์ในช่วงนี้เสี่ยงโควิด-19 หรือไม่ และ การกินอาหารให้เป็นยา เพื่อเสริมสร้างภูมิต้านทาน
ถามตอบข้อสงสัย (27 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ปัจจัยความเสี่ยงโควิด-19 จากแรงงานข้ามชาติ, ความสำเร็จในการตรวจหาเชื้อโควิด-19 จากน้ำลาย, ทางออกและการปรับตัวของช่างทำผมในยุคโควิด-19 และ น้ำใจคนไทยกับการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (28 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : การต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ไปถึงวันที่ 31 พ.ค. 63 จะกระทบเรื่องใดบ้าง, ข้าวปากบาตรพระ เอาชนะโควิด-19, จัดระเบียบตลาด ลดความเสี่ยงจากโควิด-19 ได้อย่างไร และ จากครูสอนทำขนมปัง สู่ห้องเรียนออนไลน์ในยุคโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (29 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : เส้นทางสู่วัคซีนโควิด-19, ครูสอนพิเศษดนตรี ปรับแนวสอนผ่านจอช่วงโควิด-19 และ โครงการ Face Shields for Our Fighters น้องหมอช่วยพี่หมอ
ถามตอบข้อสงสัย (30 เม.ย. 63)ประเด็นถามตอบ : ไขข้อข้องใจมาตรการผ่อนปรน 6 กิจกรรมและบริการ, อาการทางตาจะเป็นอย่างไร หากได้รับเชื้อโควิด-19 และ เพจการฝากร้านแห่งประเทศไทย แหล่งรวมของดีจากผู้ประกอบการท้องถิ่น
ถามตอบข้อสงสัย (1 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : เปิดวัด ให้อาชีพ ช่วยคนที่ได้รับผลกระทบ สู้วิกฤติโควิด-19, แนวทางผ่อนปรนอย่างไรให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัว และ การปรับรูปแบบการทำงาน ให้เหมาะสมในช่วงโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (4 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : จับตาสถานการณ์หลังคลายล็อก 8 กิจการใน กทม., ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องเลี่ยง กรณีประชาชนเดินทางกลับภูมิลำเนา และ คนไทยปันน้ำใจ ช่วยชาวสวนขายแตงโมฝ่าวิกฤติโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (5 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : เกษตรกรตรวจสอบสิทธิ์ลงทะเบียน ใครบ้างที่ได้เงินเยียวยา 15,000 บาท, เยียวยาจิตใจอย่างไรจากผลกระทบโควิด-19, กรมประมงเปิดตลาดออนไลน์ ช่วยเหลือเกษตรกรสู้วิกฤตโควิด-19 และ เปิดร้านอาหารและเครื่องดื่ม เจอกับพิษโควิด-19 ปรับตัวอย่างไร
ถามตอบข้อสงสัย (6 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : กยศ.เตรียมเงินให้กู้ยืมเรียน พร้อมเพิ่มค่าครองชีพรายเดือน, วิธีช่วยให้ปอดมีสุขภาพดี หลังหายจากโควิด-19, กองทุนวิจัยและอนุรักษ์ช้างไทย ระดมข้าวสาร อาหารแห้ง เพื่อผู้ได้รับผลกระทบโควิด-19 และ ร้านเครปเคลื่อนที่ ลุยขายถึงหมู่บ้านช่วงโควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (7 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดรอบสองของโควิด-19, ตัวอย่างโมเดล ชุมชนเข้มแข็งต้านโควิด-19, การช่วยเหลือและแบ่งปันให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 และ เกษตรกรปรับตัว นำองุ่นในสวน มาทำปลาทูต้มองุ่นสร้างรายได้
ถามตอบข้อสงสัย (8 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : การปรับเกณฑ์การตรวจผู้สงสัยติดเชื้อโควิด-19, แนวทางการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ และ ไอเดียปรับตัวสู้โควิด-19 ของผู้ประกอบการร้านอาหาร
ถามตอบข้อสงสัย (11 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : สถานการณ์โควิด-19 ในจังหวัดชายแดนใต้ที่ต้องเฝ้าระวัง, แนะนำวิธีรับมือโควิด-19 ในวันเปิดเมือง และ มาตรการช่วยเหลือกลุ่มผู้เปราะบางในสถานการณ์โควิด-19
ถามตอบข้อสงสัย (12 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : สธ. เตือน! โควิด-19 ระลอก 2 ระลอก 3 มาแน่ ถ้าประชาชนประมาท, ใบรับรอง ปลอดความเสี่ยงโควิด-19 และ ธารน้ำใจ “infoAid” เชิญชวนคนไทยร่วมช่วยเหลือร.พ.ที่ขาดอุปกรณ์การแพทย์
ถามตอบข้อสงสัย (13 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : กระทรวงคมนาคมออกมาตรการรองรับประชาชนที่ใช้บริการระบบขนส่งมวลชน, พบเด็ก ตปท. ป่วยด้วยอาการอักเสบมากผิดปกติ อาจเชื่อมโยงโควิด-19 และ ตู้ความดันลบชนิดครอบเตียงผู้ป่วย กับความต้องการในโรงพยาบาล
ถามตอบข้อสงสัย (14 พ.ค. 63)ประเด็นถามตอบ : สกัดการระบาดระลอก 2 รองรับมาตรการผ่อนปรน, บริการตรวจเครดิตบูโรผ่านแอปพลิเคชัน และโครงการจัดตั้งศูนย์สาธิตร้านตัดผม Anti COVID-19 Salon
จากกลุ่มนักดนตรีวัยรุ่น เดินทางมาสู่วงดนตรีชื่อดัง I-ZAX นั้น เส้นทางไม่ได้ง่าย พวกเขาต้องสู้กับข้อจำกัดมากมาย รวมถึงใช้เวลาทำเดโมถึง 3 ปี กว่าจะได้ออกเพลง
ละอองฟอง - Superbaker วงดนตรี 2 วง ที่มีแนวเพลงสุดมีเอกลักษณ์ นอกจากความคุ้นเคยแล้ว เส้นทางดนตรีของพวกเขายังมีจุดร่วม อย่างการได้ออกแสดงในเวทีเดียวกันอีกด้วย
พูดคุยกับ พล.ร.ต.อนันท์ สุราวรรณ์ ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ ถึงความท้าทายจากการฝึกหนักที่สุดในบรรดาหน่วยรบพิเศษของทุกเหล่าทัพ บทบาทและภารกิจสำคัญของหน่วยซีลเพื่อประเทศชาติ และแนวทางการฝึกยอดคนในอนาคต
วิเคราะห์เจาะลึกถึงประเด็นข่าวต่างประเทศ ในรายการทันโลก กับ Thai PBS วันที่ 21 พ.ย. 67 เวลา 21.00 น. ทางไทยพีบีเอส
ร่วมสนทนาประเด็น...การเดินหน้าแจกเงินดิจิทัลเฟส 2 และเฟสต่อไป พายุหมุนทางเศรษฐกิจจากเฟสแรก และมาตรการแก้หนี้ภาคครัวเรือน
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
พบกับประเด็น..."มีน พีรวิชญ์" หาแพชชั่นผ่านธุรกิจเสื้อผ้า..."โอปอล สุชาตา" ไม่เสียใจ หลังคว้ารองอันดับ 3
พบกับประเด็น...เปิดสุ่มปลายักษ์คืนชีพแหล่งท่องเที่ยว จ.สุพรรณบุรี...ไก่ย่างไม้หัวลิงเอกลักษณ์เฉพาะตัว จ.บุรีรัมย์
ชวนคุยประเด็นร้อน...ทักษิณเผย แจกเงินหมื่นระลอก 2 กลุ่มสูงอายุเกิน 60 ปี พร้อมมั่นใจ "เลือกตั้งครั้งหน้า" เพื่อไทยไม่ต่ำกว่า 200 แล้วมาวิเคราะห์ทักษิณลงพื้นที่ช่วยหาเสียง "เลือกตั้งนายกฯ อบจ. อุดรธานี ไปดูการเลือกประธานบอร์ดแบงก์ชาติเคาะแล้ว รอชง ครม. อนุมัติ และประเด็น "ที่ดินเขากระโดง" ศึกภายในพรรคร่วมรัฐบาล
แก้ปัญหาอายุที่มากขึ้น ส่งลงต่อการสร้างกล้ามเนื้อที่ลดลง ทำให้อัตราการเผาผลาญของร่างกายลดลง กับ คุณสุดาวดีวิบูลยเสข ผู้ฝึกสอน ด้วยการออกกำลังกายที่เน้นสร้างกล้ามเนื้อช่วงล่าง ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ด้วยท่าออกกำลังกายที่สามารถทำตามได้ง่าย ๆ ใช้เวลาไม่มากแต่มีประสิทธิภาพเห็นผลได้จริง ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
ชมการออกแบบวิถีชีวิตดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพใจแบบพึ่งพาตนเอง กับ คุณสุรชัย สะนิละ เจ้าของศูนย์การเรียนรู้เพื่อการพึ่งพาตนเอง บ้านสุมาลี โดยการใช้พื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดไม่ว่าจะเป็นการเลี้ยงปลาในบ่อ แบ่งสัดส่วนพื้นที่ปลูกสมุนไพร ไม้ดอก และไม้ประดับ แบบไม่พึ่งพาสารเคมี ใช้ปุ๋ยหมักจากธรรมชาติ การใช้น้ำด่างจากเถ้าถ่านดูแลพืชผัก การต่อยอดใช้ผลผลิตที่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ไว้ใช้ในครัวเรือน และการสร้างอากาศที่ดี บรรยากาศร่มรื่น การจัดสรรเวลาออกกำลังกายบริหารปอดที่สามารถทำเองได้ง่าย ๆ ที่บ้าน ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
ดูแลปอดและลำไส้ใหญ่ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว กับ พท.ว.ณัฐพล วาสิกดิลก แพทย์แผนไทย รับฟังความรู้ความสัมพันธ์ของอวัยวะในร่างกายที่จะทำให้เราดูแลร่างกายได้อย่างตรงจุดมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสูตรการสุมยาด้วยขมิ้น มะกรูดตะไคร้ ใบเตย การใช้สมุนไพรเป็นยา การกินเป็นยาด้วยหอมใหญ่ หอมไทย หอมแขก มะกรูด มะนาว เลมอน และกระเจี๊ยบ เพื่อสุขภาพแข็งแรงห่างไกลปัญหาเรื่องปอด และลำไส้ใหญ่ ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
เรื่องราวของสมุนไพรที่ช่วยบำรุงปอด ต่อกันด้วยการเกษตรแบบผสมผสาน สู้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ และสร้างกล้ามเนื้อช่วงล่าง เพิ่มอัตราการเผาผลาญ
หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพฯ เสด็จสวรรคต สร้างความโศกเศร้าให้ พระองค์เจ้าดาราวดี อย่างยิ่ง รวมถึง หม่อมขำ ก็ร้องไห้หนัก จน หม่อมสุด ต้องคอยปลอบใจ ระหว่างนั้น หม่อมสอน กับ หม่อมเภา ผ่านมาเห็น ก็ว่าหม่อมขำกับหม่อมสุดเป็นคู่เล่นเพื่อนกัน
สัมผัสกับถนนสายใหม่อย่าง “บรรทัดทอง” ซึ่งจริง ๆ แล้วถนนเส้นนี้มันมีมากกว่าของกินอร่อย ๆ ที่ทุกคนนึกถึง เราจะได้เห็นวิถีชีวิตในชุมชนเก่าแก่ที่อยู่อาศัยมาก่อนที่ย่านนี้จะฮิตและเป็นที่รู้จัก
ชวนไปชิมขนมหมี่สิ แบบชาวกะเหรี่ยงแท้ๆ ในรายการลุยไม่รู้โรย ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/Lui/episodes/94169
เบื้องหลังการผลิตละครหม่อมเป็ดสวรรค์นั้นมีความน่าสนใจในหลากหลายแง่มุม ทั้งวิธีคิดในการหยิบยกเอาเรื่องราวความหลากหลายทางเพศที่เกิดขึ้นจริงในยุคสมัยของรัชกาลที่ 3 ซึ่งไม่เพียงสะท้อนถึงเรื่องราวที่มีต้นกำเนิดจาก บทประพันธ์เพลงยาวหม่อมเป็ดสวรรค์เท่านั้นยังครอบคลุมถึงวิธีคิดในการสืบค้นข้อมูลจำนวนมากของเหล่าทีมงานเบื้องหลัง
การประชุม COP29 ณ กรุงบากู อาเซอร์ไบจาน เตรียมสะท้อนความพยายามร่วมของนานาชาติในปีนี้ แม้ผลลัพธ์ที่ผ่านมายังคงเผชิญคำถามถึงความคืบหน้าและประสิทธิภาพ พร้อมจับตาประเด็นการจัดหาเงินทุน – เร่งแก้ปัญหา Climate Change ในประเทศกำลังพัฒนา
จุดยืนของโดนัลด์ ทรัมป์ ชัดเจนมาตั้งแต่เป็นรัฐบาลสมัยแรก ระหว่างปี 2017 ถึงปี 2020 ว่า เขาจะทำให้อเมริกากลับมายิ่งใหญ่อีกครั้งและอเมริกาจะต้องมาก่อน ซึ่งการกลับมาในสมัยที่ 2 หลังเอาชนะคามาลา แฮร์ริส ได้เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว พร้อมกับอำนาจเต็มมือจากการที่รีพับลิกันกวาดที่นั่ง-ครองเสียงข้างมากทั้งสองสภา ก็ทำให้หลายประเทศต้องรีบขยับตัว เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับยุคทรัมป์ 2.0
เลือกตั้ง นายก อบจ. ภาคอีสาน ดุเดือด “เพื่อไทย-ประชาชน” ชิงอุดรฯ ขณะที่ “ค่ายสีน้ำเงิน” ปักธง หวังกวาดอีสานใต้ วิเคราะห์กับ รศ.ธนพร ศรียากูล ผอ.สถาบันวิเคราะห์การเมืองฯ และคุณอุรชัย ศรแก้ว ผู้สื่อข่าวอาวุโส ไทยพีบีเอส
เจาะธุรกิจเทรนด์ฮิต "จีนเทา" จัดกรุ๊ปทัวร์บ่อน "เที่ยวพ่วงพนัน" จากคดีจับนักพนันชาวจีนเกือบ 20 คน ย่านวังทองหลาง พ่วงกับการท่องเที่ยวสถานที่ในไทยที่โด่งดังในโลกออนไลน์
ชวนไปพบกับเพื่อนใหม่ที่ “อำเภอบ้านแหลม” จ.เพชรบุรี ครั้งนี้เราได้สัมผัสวิถีชีวิตทั้งแบบเมืองและวิถีประมง และยังบังเอิญได้พบกับ “ป้าทองย้อย-ป้าน้ำผึ้ง” บ้านหลังสุดท้ายแห่งบ้านแหลมที่ยังทำกุ้งแห้ง เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
พวกเราพาไปบุกย่าน “บ้านแหลม” ย่านที่อุดมสมบูรณ์ทั้งชายฝั่งและทะเล ครั้งนี้ทีมงานได้พบกับเจ้าถิ่นสุดเก๋าอย่าง “แก๊งลิงสุดแสบ” อีกหนึ่งปัญหาของชาวบ้านแหลมที่ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตของคนในพื้นที่ เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
ใครที่อยากทำบุญสงเคราะห์สุนัขและแมวจรจัด สามารถส่งอาหารช่วยเหลือกันได้ มีแคมป์เลี้ยงสัตว์จรจัดกลางป่าเกือบ 400 ตัว คนที่มาเที่ยวแคมปิงสามารถซื้ออาหารสัตว์มาแลกที่พักฟรี ได้ช่วยเหลือสัตว์จรจัดพร้อมกับพักผ่อนที่แคมป์กลางธรรมชาติ จ.สงขลา
ชาวเผ่าลีซู หรือลีซอ ที่ อ.พบพระ จ.ตาก เร่งทำย่ามให้ทันช่วงเทศกาลปีใหม่ ผลิตแทบไม่ทัน เพราะรูปแบบเฉพาะตัว เหมาะนำไปใช้งานหรือเสริมการแต่งตัวได้อย่างดี
พาไปชมสองสามีภรรยา อยู่ที่ ต.อู่ตะเภา อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท เลี้ยงแพะ และแกะ แบบไล่ทุ่ง ลดต้นทุนค่าอาหารเป็นอย่างดี และยังเป็นศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตร (ศพก.) ด้านปศุสัตว์ของอำเภออีกด้วย
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส