ข้อจำกัดเข้าไม่ถึงสิทธิสุขภาพทำแท้งปลอดภัย28 ก.ย.ของทุกปีเป็นวัน "ยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยสากล" เพื่อลดความสูญเสียของผู้หญิงจากการทำแท้งเถื่อน
โอกาส ชีวิต ที่สูญเสียไป จากคดีทวงคืนผืนป่าในรอบหลายปีมานี้ นโยบายทวงคืนผืนป่าถูกมองเป็นหนึ่งในนโยบายรัฐ ที่สร้างผลกระทบ ความเดือดร้อนให้กับชาวบ้านอย่างมาก หลายหมื่นคดีเกิดขึ้น
เห็นต่าง คุยกันได้ ลดขัดแย้งสังคมไทยวิเคราะห์กันต่อว่า ถ้าจะสร้างวัฒนธรรมแบบ เห็นต่าง คุยกันได้ ต้องทำอย่างไร และความพยายามแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ผ่านมา สำเร็จหรือ ล้มเหลวอย่างไร
เห็นต่างคุยได้ในโลกความจริง เรากลับต้องเจอกับคนที่เห็นต่าง และสุดท้ายอาจบานปลายกลายเป็นความขัดแย้ง เรื่องนี้พอจะมีทางออกอย่างไร
ตายออกแบบได้เมื่อการตายเลี่ยงไม่ได้ หลายคนเริ่มคิดถึงการจากไปอย่างมีความสุข โดยไม่ทำให้ครอบครัวหรือคนที่อยู่ข้างหลังต้องลำบาก แต่เรามีระบบรองรับอย่างไร
พื้นที่สาธารณะ ตอบโจทย์เมือง3 เดือนหลัง Kick off ปลูกต้นไม้ล้านต้น กทม.ยังเตรียมขยายผลสวน 15 นาที ให้คนเมืองเข้าถึงพื้นที่สีเขียวได้ง่าย และเร็วมากขึ้น แต่พื้นที่สีเขียวที่ตอบโจทย์เมือง และยั่งยืน
สุญญากาศกัญชาสุญญากาศกัญชาที่ต้องทอดเวลาออกไปอีกเวลานี้ หลังสภาฯ มีมติถอนร่างกฎหมายที่จะใช้ควบคุมไปทบทวนใหม่ ด้านหนึ่งถูกตั้งข้อสังเกตว่า เป็นการสู้กันในทางการเมือง แต่อีกเหตุผลที่ยกกันขึ้นมา คือ ยังไม่มีมาตรการควบคุมเพียงพอ
"สิทธิชุมชน" เสียสละแลกการพัฒนา ?ไทยมีรัฐธรรมนูญที่รับรองเรื่องสิทธิชุมชนเป็นครั้งแรกมาตั้งแต่ปี 2540 แต่กลับพบว่า หลายกรณีการรับรองสิทธิชุมชนยังเป็นปัญหาในทางปฏิบัติ หลายชุมชนต้องเสียสละให้กับการพัฒนา ขณะที่พวกเขากลับต้องสูญเสียในโอกาส
บ้านเช่ามั่นคงค่าเช่าบ้าน หรือ ค่าผ่อนบ้าน คือรายจ่ายที่สูงพอควรในแต่ละเดือน ยิ่งเศรษฐกิจแบบนี้ แรงงานรับจ้างรายวันที่มีรายได้ไม่มั่นคง หากขาดงาน ขาดรายได้ อาจเสี่ยงถึงขั้นไม่มีบ้านอยู่
จบสถาบันไหน ก็เหมือนกัน ?หลากหลายความเห็น หลังสภาผู้แทนราษฎรผ่านร่างกฎหมาย กู้เงิน กยศ."ไม่มีค่าปรับ ไม่มีดอกเบี้ย" ถ้าคุยกันด้วยเหตุและผล นี่ถือเป็นอีกตัวอย่างของการ เห็นต่าง แต่คุยกันได้
สูงวัยในถิ่นเดิมประชากรที่เป็นผู้สูงอายุมากเกินไป ก็อาจจะต้องตั้งคำถามต่อว่าแล้วจะทำอย่างไรดี เวลานี้นักวิจัยหลายคนกำลังพยายามใช้โมเดล "สูงวัยในถิ่นเดิม" เพื่อลดปัญหานี้
ส่องปัจจัยน้ำท่วม กทม.ปี 65 หลายพื้นที่ของ กทม.ต้องเจอกับน้ำท่วมหนัก แม้น้ำเหนือจะยังไม่ใช่ปัจจัยใหญ่ ชวนวิเคราะห์ หาสาเหตุน้ำท่วม กทม.พร้อมข้อจำกัดที่มี และแนวทางรับมือและบรรเทาปัญหา
ตรวจการบ้าน SANDBOX ระบบสุขภาพหลังทีมงานของผู้ว่าฯ กทม. ประกาศเจตจำนง รื้อระบบสุขภาพ กทม. ภายใน 100 วัน ผลงานที่เห็นชัดเจนที่สุดคือการวาง Sandbox ระบบสุขภาพ หวังปฏิรูประบบสุขภาพ
ตรวจการบ้าน 99 วันทีมบริหาร กทม. เลือกวันที่ 9 เดือน 9 แถลงผลงาน 99 วันแก้ปัญหาเมืองหลวง ท่ามกลางความคาดหวังมากมายของสังคม
คิดใหม่ แก้ปัญหากรุงเทพมหานคร9 ก.ย. 65 กทม. แถลงการดำเนินงานในรอบ 100 วัน หลังได้ผู้ว่าฯ กทม.คนใหม่ เข้ามาบริหารงาน ท่ามกลางความคาดหวัง
จุดเริ่มต้น ค้นความจริง กฎหมายอุ้มหาย ?ยังมีเรื่องไหนที่เป็นช่องโหว่ และกฎหมายอุ้มหายจะเป็นความหวังให้กับครอบครัวของผู้สูญหายได้จริงหรือไม่
ภาคประชาชน ปิดสวิตซ์ ส.ว.?การประชุมร่วมรัฐสภา ซึ่งมีร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญเข้าสู่การพิจารณารวม 4 ฉบับ หลังถอนออกไป 1 ฉบับ โดยเนื้อหาใน 4 ฉบับรวมถึงร่างแก้ไขฉบับประชาชนที่เสนอตัดอำนาจ ส.ว.ในการโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี
กฎหมายใหม่ - ความร่วมมือ ความหวังลดอุบัติเหตุการบังคับใช้กฎหมายจราจรฉบับใหม่ ที่เพิ่มทั้งโทษปรับ และจำคุก คือความพยายามลดอุบัติเหตุทางถนน
บัตร (สวัสดิการแห่งรัฐ) บรรเทา "จน"5 กันยายน - 19 ตุลาคม 2565 รัฐจะเปิดลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐรอบใหม่ หวังจะคัดกรองให้ได้คนจนตัวจริง เพื่อออกมาตรการช่วยเหลือแบบพุ่งเป้า
ค่าไฟแพง นโยบายพลาด ?ภาระใหม่เรื่องค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้น หนึ่งในนั้นก็คือค่าไฟฟ้า มีหลายเหตุผลที่ภาครัฐอธิบายถึงสาเหตุของการปรับค่าไฟ แต่อีกมุมก็มีข้อสังเกตว่า เป็นความผิดพลาดจากนโยบายพลังงานหรือไม่
I Just Called To Say I Love You อัลบั้ม The Woman in Red: Original Motion Picture Soundtrack พ.ศ. 2527 Covered By เอิ๊ต ภัทรวี
Bone Broth หรือน้ำซุปเคี่ยวกระดูก เป็นหนึ่งในอาหารที่กำลังได้รับความนิยมอย่างมากในโลกออนไลน์ เนื่องจากเป็นอาหารที่มีความเข้มข้นทางโภชนาการสูง หรือที่เรียกว่า "nutrition dense food" นั่นเอง
เราจะมีความเชื่อกันว่าประชาธิปไตยที่มาจากการเลือกตั้งจะทำให้ประชาธิปไตยของประเทศเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นไปด้วย แต่จากงานวิจัยและผลสำรวจล่าสุดพบว่าคะแนนประชาธิปไตยของไทยลดลง ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น
เป้าหมายในชีวิตของคุณคืออะไร ? บางคนอยากมีเงินเยอะ ๆ มีสุขภาพดี ๆ มีความสุขในช่วงบั้นปลาย แต่สำหรับ "ลุงพงศ์" เป้าหมายในชีวิตคงมีแค่ขอให้วันนี้ได้มีอาหารให้กิน มีที่ให้หลับนอน และมีกำลังพอที่จะช่วยเหลือผู้อื่นเท่าที่จะทำได้
วิเคราะห์เจาะลึกถึงประเด็นข่าวต่างประเทศ ในรายการทันโลก กับ Thai PBS วันที่ 31 มี.ค. 68 เวลา 21.00 น. ทางไทยพีบีเอส
ร่วมสนทนาประเด็น...ความโกลาหลจากการอพยพคนออกจากอาคารสูงหลังพบความผิดปกติ แนวโน้มการเกิดอาฟเตอร์ช็อกหลังเกิดแผ่นดินไหว การเข้ามาตรวจสอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อลดความตื่นตระหนก และการสื่อสารจากภาครัฐเพื่อสร้างความชัดเจน
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
พบกับประเด็น..."แทค ภรัณยู" เล่านาทีแผ่นดินไหว ช่วยลุยด้วยใจอาสา..."ป๊อก ปิยธิดา" ขำไวรัล "ถ้าชั้นอยู่ต่ำกว่านี้" ยันไม่ถนัดเป็นอินฟลูฯ
กระแสรถยนต์ไฮบริดถูกกลับมาพูดถึงอีกครั้ง หลังจากที่จีนซึ่งเป็นเจ้าตลาดรถยนต์ EV โดดลงมาเล่นในตลาดนี้ด้วย เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้ากลุ่มที่ยังมีความลังเลเรื่องการใช้รถยนต์ EV ทำให้ตอนนี้ เจ้าใหญ่ด้านรถยนต์ไฮบริดอย่างญี่ปุ่น เริ่มมีคู่แข่ง
การแต่งตัวสีเดียวในญี่ปุ่นไม่ใช่แค่แฟชั่น ! คนญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับความเรียบง่ายและเป็นธรรมชาติ การเลือกเสื้อผ้าสีเดียวจึงสะท้อนค่านิยมนี้ได้ดี เหมาะทั้งทำงานและชีวิตประจำวัน ฟูจิได้รับคำถามน่าสนใจจากเพื่อน ๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมการแต่งตัวของคนญี่ปุ่นที่มักนิยมสวมใส่เสื้อผ้าสีเรียบ ๆ โดยเฉพาะโทนสีดำ แม้ว่าเขาจะไม่อยากแต่งตัวแบบนั้น แต่ก็ต้องคำนึงถึงความรู้สึกของคนรอบข้าง แม้วันนี้เขามีกำหนดการไปถ่ายรายการ และกำลังลังเลเรื่องการเลือกเสื้อผ้า เขาอยากใส่เสื้อสีเหลืองหรือแดง แต่กลัวว่าจะถูกมองว่าแปลกหรือไม่สำรวม หรือดูโดดเด่นเกินกว่าผู้อื่น ทั้งหัวหน้าและลูกน้อง ความกังวลเหล่านี้ทำให้เขาคิดมาก แล้วคนญี่ปุ่นมีวิธีการแก้ปัญหานี้อย่างไร? พวกเขายังคงใส่สีเรียบแต่จะมีลูกเล่นเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่แตกต่างกันเพื่อแสดงความเป็นตัวตนหรือไม่? ฟูจิเปิดเผยว่าเขาอยากใส่เสื้อที่มีสีสันสดใสมากกว่า บางทีอาจจะเป็นเสื้อที่มีความวับวาวนิดหน่อย แต่ก็รู้สึกว่าอาจจะเวอร์เกินไปสำหรับตัวเอง เขายังเล่าถึงวิธีสังเกตนักท่องเที่ยวในญี่ปุ่นว่า หากเห็นใครสวมเสื้อผ้าสีสันฉูดฉาด มักจะไม่ใช่คนญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังมีเรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับการสวมชุดทำงานที่มีโลโก้บริษัทขึ้นรถไฟในญี่ปุ่น ซึ่งโดยทั่วไปแล้วไม่เป็นที่นิยม เพราะหากสวมชุดที่มีแบรนด์บริษัทแล้วมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่น นอนอ้าปากบนรถไฟ อาจส่งผลต่อภาพลักษณ์ของบริษัทได้ ทำไมวัฒนธรรมการแต่งกายของคนญี่ปุ่นจึงเคร่งครัดเช่นนี้? และจะมีวิธีการแสดงออกถึงความเป็นตัวเองผ่านการแต่งกายโดยไม่ขัดกับวัฒนธรรมได้อย่างไร? มาดูให้รู้พร้อมกัน #แต่งตัวแบบญี่ปุ่น #แฟชั่นญี่ปุ่น #สีเดียวดูดี #คลิปน่ารู้จากญี่ปุ่น #ดูให้รู้ #ฟูจิเซ็นเซ #ThaiPBS #Japan #ญี่ปุ่น
ใครจะเชื่อว่าในวัย 89 ปี ยังมีนักกล้ามฟิตแอนด์เฟิร์มคว้ารางวัลเพาะกายถึง 17 เวที ! ฟูจิเซ็นเซจะไปพารู้จักกับคุณตานักกล้าม “Toshisuke Kanazawa” ผู้ทุ่มเทดูแลตัวเอง เพื่อพิสูจน์ว่า “ทุกคนทำได้” ไม่ว่าจะเริ่มเมื่อไรก็ตาม ซึ่งเคล็ดลับในการดูแลตัวเองของคุณตาก็คือ กินโปรตีนวันละ 5 ครั้ง ไม่กินเนื้อสัตว์ เวลากินต้องยืนกินเท่านั้น !
รู้หรือไม่ว่าแท้จริงแล้วโลกของเราไม่ได้กลมสนิท แต่เป็นเหมือนผลส้ม โดยประกอบไปด้วยชั้นต่าง ๆ ที่ซ้อนกันอยู่ภายใน ไม่ว่าจะเป็นแก่นโลกชั้นใน แก่นโลกชั้นนอก ชั้นเนื้อโลก และชั้นเปลือกโลกที่เราอาศัยอยู่
หากแก่นโลกหยุดหมุนจริง จะเกิดปรากฏการณ์ฟ้าผ่าและภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างรวดเร็วเหมือนใน The Core หรือไม่ และจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ “สนามแม่เหล็กโลก” และความผิดปกติของปรากฏการณ์แสงเหนือ หรือ ออโรรา อย่างไร
"คนหาเกสรดอกบัว" ที่บ้านหลุบคา อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น อาชีพที่ต้องออกทำงานตั้งแต่ตี 3 ต้องใช้แรงกายถ่อเรือเก็บดอกบัว แต่สามารถสร้างรายได้หลัก 1,000 ต่อวัน
พบกับเรื่องราว "ของคนหาเกสรดอกบัว" ชีวิตที่ต้องเริ่มแต่เช้ามืด และเกสรบัวจากธรรมชาติ เลี้ยงชีพพวกเขาได้อย่างไร
ภัตตาคารบ้านทุ่ง บุกตะลุยเข้าป่าดิบชื้น พาไปตามหา "บอนกลัก" ที่ ต.เขาต่อ อ.ปลายพระยา จ.กระบี่ พร้อมเข้าครัวปรุงเมนูพื้นถิ่น "แกงส้มบอนกลัก" และเมนูของหวาน "บวดสาคูบอนกลัก"
เมื่อทีมงานบุกย่านหลังรามคำแหง มาดูกันว่าการเดินในกรุงเทพฯ กับต่างจังหวัดพวกเขาจะเดินน้อยลง หรือมากขึ้น และจะได้เจอใครบ้าง
ออกเดินทางตามหาเพื่อนใหม่กับ “เปอร์-สุวิกรม” อีกครั้ง ในครั้งนี้พาไปบุก “ย่านหลังรามคำแหง” หรือซอยรามคำแหง 24 ครั้งนี้ได้พบกับวิถีชีวิตที่หลากหลาย ทั้งพ่อค้า-แม่ค้า วินมอเตอร์ไซค์ และนักศึกษาที่ใช้ชีวิตอยู่ในย่านหลังรามคำแหง
สังข์ทอง ไม้พลอง ทองใบ สามเพื่อนสนิทที่เป็นทาสอยู่ในเรือนคุณพระบำเรอกรุง ความกะล่อนของสังข์ทอง ขี้ขโมยของไม้พลอง และสิ่งประดิษฐ์ที่ได้เรื่องบ้างไม่ได้เรื่องบ้างของทองใบ ทำให้คุณพระหัวเสียและลงโทษสามทาสเป็นประจำ จนวันที่คุณพระแต่งงานกับนวลละออ สาวชาววังที่คุณพระหมายปอง ก็เกิดสุริยุปราคาขึ้นระหว่างที่ฟ้ามืดมิด ก็เกิดเสียงปืนดังลั่น คุณพระตายในงานแต่งงาน ทองใบตกเป็นผู้ต้องสงสัยว่าเป็นฆาตกร
วิชัยเห็นเจเจแอบขโมยมะม่วงของเขาจนเรื่องถึงโรงพัก ตำรวจไกล่เกลี่ยให้เจเจมารดน้ำต้นไม้ให้วิชัยทุกวันเป็นการลงโทษ จุดเริ่มต้นของมิตรภาพต่างวัยจึงได้เกิดขึ้น
สังข์ทองไปขอให้นวลละออช่วยไม่ให้ทองใบโดนประหาร แต่กลับโดนไล่ไป สังข์ทองกลับมาเจอไม้พลอง ไม้พลองเล่าเรื่องโจลี่กับรำพึงให้สังข์ทองฟัง สังข์ทองเครียดมากที่หาทางช่วยทองใบไม่ได้ ในที่สุด ก็ถึงวันประหารทองใบ ในขณะที่เพชรฆาตจะลงดาบ ก็มีใครบางคนเข้ามาขวางเอาไว้และบอกสิ่งที่ทุกคนไม่คาดคิด
ชวนคุยประเด็นร้อน...Entertainment Complex ไม่เท่ากับกาสิโน ! แล้ว "กาสิโน - พนันออนไลน์" ทางเลือกสุดท้ายกระตุ้นเศรษฐกิจไทยหรือ ? วัยรุ่นเซ็ง ! แจกเงินหมื่น ไม่ทันสงกรานต์ เศรษฐกิจไทยดีหรือแย่ ? รัฐบาลยังพูดไม่ตรงกัน เก็บตกนายกฯ อิ๊ง หลังศึกอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล แล้วดีลปีศาจ ดีลอะไร ใครคือปีศาจ ? "ตั๋ว PN" เลี่ยงภาษีหรือไม่ ?
นวลละออเล่าถึงความคับแค้นใจที่ตนเองมีต่อคุณพระบำเรอกรุง โดนบังคับให้ต้องแต่งงานด้วยทั้งๆ ที่ไม่อยากแต่ง แล้วยังมีเรื่องราวที่คุณพระบำเรอกรุงทำชั่วไว้อีกตั้งมากมาย ทั้งทำกับตนเอง และทำกับรำพึง พี่สาวที่นวลละออรักมากที่สุด เมื่อนวลละออสารภาพทุกอย่าง ก็เกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น
หมื่นอินทร์บอกว่าตนเป็นคนที่ฆ่าคุณพระบำเรอกรุง แต่พอสังข์ทองกับไม้พลองจะจับกุมหมื่นอินทร์ ก็มีอั้งยี่โผล่มาขัดขวางและเกิดการยิงกันขึ้น จนสามทาสต้องหนีเอาตัวรอดก่อน โจลี่พาสามทาสไปซ่อนที่บ้านพักมิชชันนารี สามทาสคุยกันว่าใครเป็นคนที่ฆ่าคุณพระบำเรอกรุงกันแน่ ระหว่างนั้นหมื่นอินทร์ตามมาจะจับทองใบ สามทาสต้องรีบหาที่ซ่อนในบ้านพักมิชชันนารี และได้พบความลับบางอย่าง
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส