กลาง(คืน)บางแสนพาไปทำความรู้จักกับเพื่อนใหม่ในตอนกลางคืน ซึ่งก็ได้พบกับผู้คนที่ทำมาหากินเลี้ยงปากท้อง ในช่วงเวลานี้มาครึ่งชีวิตการทำงานอย่าง พี่อ๊อฟ-พี่ปิง สองเพื่อนรักที่ตัดสินใจ ออกจากบ้านมาหาประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่อายุ 16 ปี
ค่ายบางระจันวันนี้เปอร์ พาคุณผู้ชมมาเยือนถิ่นของเหล่าวีรชนผู้กล้า ที่ย่าน "ค่ายบางระจัน" และครั้งนี้ก็ได้พบกับ "ป้าหมู" คนดูแลนักท่องเที่ยวแห่งวัดโพธิ์เก้าต้น ที่มาเล่าประวัติศาสตร์ความเป็นมาของค่ายบางระจันให้ได้ฟัง
นิคมพัฒนาพาคุณผู้ชมออกตามหาเพื่อนใหม่ที่อำเภอ “นิคมพัฒนา” ย่านโรงงานอุสาหกรรมใน จ.ระยอง และครั้งนี้เปอร์-สุวิกรม ก็ได้พบกับ “พี่มาร์ก” คนต่างถิ่นที่ย้ายมาปักหลักสร้างครอบครัวอยู่ที่ย่านนิคมพัฒนา
พนมทวน"เปอร์-สุวิกรม" พาคุณผู้ชมมาเยือน "อำเภอพนมทวน" ย่านที่เต็มไปด้วยรอยยิ้ม และความสงบ ครั้งนี้เปอร์บังเอิญได้พบกับ "พี่พินิจ" จึงได้ทราบเรื่องราวความเป็นอยู่ของชาวบ้านอย่างละเอียด เพราะได้นั่งคุยกับรองนายกฯ แบบสายตรง
เมืองเชียงรายพาคุณผู้ชมขึ้นเหนือมาทำความรู้จักกับผู้คนที่ย่าน “เมืองเชียงราย” และครั้งนี้เปอร์ ก็ได้พบกับเพื่อนใหม่อย่าง ป้าเดือน-แม่ค้าอาหารตาสั่งอารมณ์ดี ที่ร่วมตบมุก เหมือนรู้จักกับเปอร์มานาน
หนองแค"เปอร์" จะพามาทำความรู้จักกับชาว “หนองแค” ว่าพวกเขามีวิถีชีวิตความสุข ความทุกข์กันอย่างไร และก็บังเอิญได้เจอกับ “พี่โซ่-พี่ป่าน” สองคู่รักวัยรุ่นสร้างตัว ที่วางแผนทำธุรกิจเลี้ยงปากท้องตั้งแต่ยังเรียนมหาวิทยาลัย
เขาฉกรรจ์"เปอร์" พาคุณผู้ชมมาดูวิถีชีวิตของชาว "เขาฉกรรจ์" อีกหนึ่งย่านที่ถูกพูดถึงในโลกอินเทอร์เน็ต และครั้งนี้เราได้เจอกับ “พี่เพ็ญ” เจ้าถิ่นใจดีที่มาเล่าเรื่องราวความเป็นมาของลิงนับพันที่เขาฉกรรจ์ให้ได้ฟัง
บางเลนบุกมาเยือนย่าน "บางเลน" หนึ่งในอำเภอของจังหวัดนครปฐม ครั้งนี้เปอร์ ได้พบกับ "พี่เพ็ญ" ที่มาบอกเทคนิคการดูกุ้ง แบบไหนคือกุ้งหัวมัน และวิธีซื้อกุ้งให้ได้หัวแก้วแท้ร้อยเปอร์เซ็นต้องเลือกอย่างไร
ท่าวุ้งเปอร์ พาคุณผู้ชมมาพบกับเพื่อนใหม่ที่ย่าน "ท่าวุ้ง" ย่านที่ผู้คนส่วนใหญ่ประกอบชีพเกษตรกร และครั้งนี้ก็ได้พบกับ "ลุงต๋อง" ชาวนาที่มีเอกลักษณ์สุดเท่
หนองเสือเปอร์ จะพามาบุก “อำเภอหนองเสือ” ย่านที่ผู้คนมีวิถีชีวิตข้องเกี่ยวกับการทำเกษตรกรรม และยังถือว่าเป็นปอดของจังหวัดปทุมธานีอีกด้วย
กลาง(คืน)ปากคลองตลาดพาบุกมาเยือนถิ่นเก่าที่เป็นจุดเริ่มต้นในวงการบันเทิงในตอนกลางคืน ที่ย่าน "ปากคลองตลาด" และได้รู้จักกับ "พี่นัท" เจ้าของร้านดอกไม้สด ที่ต้องปรับตัวให้ทันกับทุก ๆ สถานการณ์
ชะอำเปอร์ ขออาสาพามาทำความรู้จักกับเพื่อนใหม่ที่ "ย่านชะอำ" ครั้งนี้ก็ได้เจอกับป้าแมวและลุงจิณ สองคู่รักนักสู้แห่งเมืองชะอำ ที่มาร่วมแบ่งปันเรื่องราวการสร้างชีวิตของทั้งสอง
ปราณบุรีพามาเยือน "ย่านปราณบุรี" อีกหนึ่งสถานที่เที่ยวยอดนิยม ที่คนรักความสงบต้องมาเยือน และครั้งนี้ "เปอร์" ก็ได้พบกับเพื่อนใหม่และได้ฟังเรื่องราวของย่านปราณบุรีจากเจ้าถิ่น
พรหมบุรีมาบุก “อำเภอพรหมบุรี” หนึ่งในอำเภอเก่าแก่ของจังหวัดที่มีชุมชนติดริมแม่น้ำเจ้าพระยา และยังมีประวัติศาสตร์อันยาวนานที่น่าค้นหา
หนองใหญ่มาทำความรู้จักกับผู้คนที่โซนภาคตะวันออกของ จังหวัดชลบุรี ที่ "อำเภอหนองใหญ่" ในครั้งนี้เปอร์-สุวิกรม ได้สัมผัสกับวิถีชีวิตที่แสนเรียบง่ายของผู้คนในย่านนี้ และยังได้พบกับเจ้าของร้านผลไม้เจ้าแรกและเจ้าเดียวในย่านหนองใหญ่
หางดงเปอร์ จะพาคุณผู้ชมมาทำความรู้จักกับเพื่อนใหม่ที่ "อำเภอหางดง" จังหวัดเชียงใหม่ ทำความรู้จักกับการแปรรูปถั่วเหลืองจากวิถีพื้นบ้าน
ท่าใหม่เดินทางมาทำความรู้จักกับผู้คนที่ "อำเภอท่าใหม่" ย่านที่ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเป็นชาวสวนทุเรียน
เมืองสระแก้วพามาเยือน "เมืองสระแก้ว" อำเภอเล็ก ๆ ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ผู้คนต่างมีความสุขในการใช้ชีวิตในแบบที่เรียบง่าย และที่นี่ยังมีเจ้าถิ่นใจดีที่ยอมให้เปอร์-สุวิกรม ได้ลองทำขนมครกเป็นครั้งแรกในชีวิต
กลาง(คืน)พระราม 9พาไปดูวิถีชีวิตของผู้คนที่ย่านพระราม 9 ในครั้งนี้นอกจากจะได้เห็นความเปลี่ยนแปลงของย่านพระราม 9 ในตอนกลางคืนแล้ว ยังได้รับฟังเรื่องราวความสุข ความทุกข์ของเหล่าพ่อค้าแม่ค้า และหลังวิกฤตโควิด-19 ของผู้คนในยามค่ำคืน
เมืองอุทัยธานี"เมืองอุทัยธานี" เมืองเล็ก ๆ ที่ผู้คนมีวิถีชีวิตแบบสโลว์ไลฟ์ และนอกจากการได้มาทำความรู้จักผู้คนที่นี่ เปอร์-สุวิกรม ก็ยังถือโอกาสมาตามรอยประวัติของต้นตระกูลที่ "เมืองอุทัยธานี"
No More Lonely Nights - Paul McCartney อัลบั้ม Give My Regards to Broad Street ปี ค.ศ.1973 ขับร้อง : บรรณ ใบชา
เรากำลังอยู่ในช่วงของฤดูฝุ่น ซึ่งเป็นเหมือนฝันร้ายที่สังคมเผชิญร่วมกันในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แม้จะเห็นความพยายาม ในการเตรียมรับมือสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ของภาคส่วนต่าง ๆ ในปีนี้ ล่วงหน้า
ชวนเข้าครัวทำขนมหวานญี่ปุ่นแบบโบราณ อย่าง เนริกิริ (Nerikiri) ขนมหวานที่นิยมเสิร์ฟในพิธีชงชา ทำจากถั่วขาวอินทรีย์กวน และเพิ่มสีสันลวดลายสวยงามตามช่วงฤดูกาล ปั้นเป็นรูปดอกไม้ฤดูหนาว อย่าง ดอกโบตั๋น กับ ลูกส้ม
บุกตะลุยขึ้นดอย ท่ามกลางทะเลหมอก ไปเรียนรู้เรี่องราวของ "หอมชู" ที่ดอยอ่างขาง ต.แม่งอน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ พร้อมเข้าครัวปรุงเมนูพื้นถิ่น "แตงหุงฮากคิวใส่ซี่โครงหมู" และเมนู "สำรับหอมชู"
รวมพลตัวแทนคนลูกทุ่งเสียงดี ดีกรีติดยศข้าราชการกองดุริยางค์ทหาร จัดเต็ม 3 เหล่าทัพ บก – เรือ - อากาศ เจอหญิงเก่งรุ่นเก๋า ‘แม่สมศรี ม่วงศรเขียว’
อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ถือเป็นแหล่งผลิตเกลือทะเลที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย เพราะทำกันแทบทุกตำบล คนที่นี่จึงมีวิถีผูกพันกับนาเกลือมาอย่างนานจากรุ่นสู่รุ่น
แม้ว่าคุณสุดจะสอบผ่าน แต่กรมหมื่นไกรสรวิชิตก็ยังเป็นกังวลอยู่กลัวจะมีปัญหาเพราะคุณสุดเป็นผู้หญิง จึงไปปรึกษากับพระองค์ชายนวมเพื่อจัดสอบอาลักษณ์หลวงด้วยการสอบคัดลายมืออีกครั้ง จะได้ไม่เป็นที่ครหาของเหล่าบุตรหลานขุนนางที่ร่วมแข่งขัน เมื่อพระองค์เจ้าวิลาสรู้จึงสั่งให้คุณสุวรรณสอนคุณสุดอย่างสุดฝีมือ
เมื่อพระเจนอภิบาลได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้เป็นแม่กองปราบฝิ่นที่หัวเมืองปักษ์ใต้ ก่อนออกเดินทางจึงไปขอคำอวยพรปลอบขวัญจากคุณขำ และยังฝากผ้ายกเมืองนครมาให้อีกด้วย ซึ่งสร้างความไม่สบายใจให้ คุณสุดจนพระองค์เจ้าวิลาส ต้องเก็บผ้าผืนนี้ไว้ก่อนเพื่อให้คุณสุดได้ตั้งใจสอบอาลักษณ์หลวงให้ผ่านตามความมุ่งหวัง
การจากไปอย่างกะทันหันของอึ่งทำให้แม่เนียมไม่สบายใจถึงขั้นกินไม่ได้และนอนฝันร้ายทุกคืน ทุกคนในเรือนบ่าวเห็นอาการของแม่เนียมจึงเป็นห่วง จนยวงต้องตัดสินใจไปปรึกษาพระองค์เจ้าวิลาสเพื่อหาทางปลอบใจ
หลังจากพระเจนอภิบาลได้เบาะแสเรื่องพ่อค้าฝิ่นรายใหญ่ก็ได้นำกำลังตำรวจหลวงบุกไปจับเจ้าสัวเหลียงทันที แต่เจ้าสัวเหลียงไม่ยอมให้จับง่าย ๆ ทำให้เกิดการปะทะขึ้น ส่วนแม่แก้วหลบหนีไปกับชุ่ม ซึ่งสร้างความกังวลใจให้พระองค์เจ้าวิลาสอย่างมากเพราะเกรงแม่แก้วจะก่อเรื่องเดือดร้อนขึ้นอีก
สูตรเด็ดเคล็ด(ไม่)ลับ กับเมนูเคยคั่วหอยไฟไหม้ดอง เมนูชวนข้าวหมดหม้อ อร่อยจนต้องขอเติม ติดตามได้ในรายการภัตตาคารบ้านทุ่ง ชมวิธีทำต่อได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/BanTung/episodes/104918
ถือว่าเป็นการเปิดประสบการณ์การดำน้ำในต่างประเทศครั้งแรกของ Navigator ทุกอย่างดูแปลกตาและตื่นเต้นมากๆ เพราะที่ Red Sea ของประเทศอียิปต์ เราจะได้มีโอกาสเจอสัตว์ใหญ่ใต้ท้องทะเลหลายชนิด โดยเฉพาะไฮไลท์ของที่นี่คือ ฉลามหัวค้อน นอกจากนี้การท่องเที่ยวบนบกของที่อียิปต์ยิ่งน่าสนใจโดยเฉพาะ ความยิ่งใหญ่ ของสิ่งก่อสร้างที่ชื่อว่า "พีระมิด"
หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพฯ เสด็จสวรรคต สร้างความโศกเศร้าให้ พระองค์เจ้าดาราวดี อย่างยิ่ง รวมถึง หม่อมขำ ก็ร้องไห้หนัก จน หม่อมสุด ต้องคอยปลอบใจ ระหว่างนั้น หม่อมสอน กับ หม่อมเภา ผ่านมาเห็น ก็ว่าหม่อมขำกับหม่อมสุดเป็นคู่เล่นเพื่อนกัน
คุณสุด ตัดสินใจไปกราบทูลขอประทานอนุญาตพระองค์เจ้าวิลาส เพื่ออยู่กินกับคุณขำดังเช่นคู่เล่นเพื่อนคู่อื่น ๆ ซึ่งทำให้พระองค์เจ้าวิลาสรวมถึงคุณสุวรรณพยายามดึงสติคุณสุดด้วยความเป็นห่วง
นุชนาฏ ได้งานเป็นผู้ช่วยเชฟในโรงเรียนสอนทําอาหารในโรงแรมชื่อดังเธอได้ร่วมงานกับหัวหน้าเชฟสุดเนี้ยบอย่าง ปกรณ์ ที่เป็นคนไทยเหมือนกันแต่กลับไม่เคยออมชอม...
ความรักเอย ... เจ้าลอยลมมาหรือไร .... มาดลจิต มาดลใจ เสน่หา เพลง : เสน่หา (เพลงประกอบละคร "จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี") คำร้อง : มนัส ปิติสานต์ เรียบเรียง : ณัฐพากย์ กวีธรรมวงษ์ ขับร้อง : จีรภัทร จันทร์แจ้ง ติดตามชมละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ตอนแรก วันที่ 1 – 2 มกราคมนี้ เวลา 20.15 - 21.10 น. ทาง #ThaiPBS #ช่องหมายเลข3 ▶ ชมสดออนไลน์ Website : www.thaipbs.or.th/Live Facebook : @ThaiPBS ▶ ชมอีกครั้งทาง Website : www.VIPA.me Application VIPA : https://bit.ly/3rJQ7HA
บทบาทใหม่ของ #ก๊อตจิรายุ และการร่วมงานกับไทยพีบีเอสครั้งแรก! แค่เปิดตัว "ปกรณ์" มาก็หล่อหนักมาก แฟน ๆ เตรียมกรี๊ดกันได้เลย พบกันในละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ละครรัก ย้อนประวัติศาสตร์
เบื้องหลังการผลิตละครหม่อมเป็ดสวรรค์นั้นมีความน่าสนใจในหลากหลายแง่มุม ทั้งวิธีคิดในการหยิบยกเอาเรื่องราวความหลากหลายทางเพศที่เกิดขึ้นจริงในยุคสมัยของรัชกาลที่ 3 ซึ่งไม่เพียงสะท้อนถึงเรื่องราวที่มีต้นกำเนิดจาก บทประพันธ์เพลงยาวหม่อมเป็ดสวรรค์เท่านั้นยังครอบคลุมถึงวิธีคิดในการสืบค้นข้อมูลจำนวนมากของเหล่าทีมงานเบื้องหลัง
ครูทองคำหลังจากแสดงในงานพระศพพระองค์เจ้าสังข์เสร็จก็ออกไปเป็นละครเร่ดังเดิม ยวงชวนปานไปเปิดหูเปิดตาที่ตลาด พอปริกรู้จึงขอตามไปด้วยเผื่อจะได้เจอกับมั่นพร้อมทั้งอาสาพาปานไปเที่ยววัดโพธิ์ด้วย ระหว่างที่ปริกแอบเลี่ยงไปหามั่น อึ่งสะกดรอยตามไปด้วยความหึงหวงและโกรธแค้นใจ
น้ำชุบ หรือที่คนทั่วไปรู้จักในกันว่าน้ำพริก เป็นอาหารรสชาติเผ็ดร้อน ที่บ่งบอกความเป็นตัวตนของคนใต้ได้เป็นอย่างดี ทุกพื้นที่ของภาคใต้ล้วนมีเมนูน้ำชุบที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ แต่มีเพียงที่เดียวเท่านั้นที่ได้นำของเหลือทิ้งอย่างกะลามะพร้าว หรือพรก มาต่อยอดให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ประจำชุมชนที่ชื่อว่า "น้ำชุบพรก"
เรื่องราวเริ่มบานปลายเมื่อ คุณสุด กับ คุณขำ มีเรื่องกับ แม่แก้ว และ ชุ่ม ที่ตลาด แม่แก้วเอาไปร้องเรียนกรมวังเพื่อเอาผิดคุณสุดกับคุณขำ เพราะทั้งคู่ทำผิดกฎมณเฑียรบาล ที่ว่าเป็นพวกเล่นเพื่อนกัน วุ่นวายถึงศาลหลวงต้องสั่งให้ตระลาการไต่สวนข้อเท็จจริงในคดีความนี้เป็นการด่วน
ระหว่างที่ "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" กำลังเตรียมอาหารอยู่ในครัวตามที่ได้รับมอบหมายหน้าที่จาก พระองค์เจ้าดาราวดี ให้ดูแลเครื่องเสวยถวายเจ้านายในงานพระศพ หม่อมขำ ได้ทำการลองชิมให้ได้รสที่ถูกใจก่อนถวาย พอ "หม่อมแก้ว" เห็นก็ไม่พอใจที่ หม่อมขำ ตักอาหารกินก่อนเจ้านาย พยายามเอาเรื่องให้ถึงที่สุด
หลังจากคณะละครของครูทองคำได้รับมอบหมายให้แสดงในงานพระศพพระองค์เจ้าสังข์ ครูทองคำตั้งใจจะไปขออนุญาตนำนิทานคำกลอนของท่านสุนทรภู่มาใช้ในการแสดง แต่มีเหตุการณ์บางอย่างทำให้ครูทองคำได้ตัดสินใจจะออกจากพระนครอีกครั้ง
"พระองค์เจ้าวิลาส" เสด็จไปร่วมงานพระศพฯ "หม่อมขำ" ซึ่งทำหน้าที่ดูแลเครื่องเสวยก็ได้จัดเตรียมพระกระยาหารด้วยความกังวลเพราะกลัวจะไม่ถูกพระโอษฐ์พระองค์เจ้าวิลาส พอ "หม่อมสุด" เห็นก็เป็นห่วง จึงพยายามปลอบและให้กำลังใจ
หลังจาก "พระองค์เจ้าวิลาส" ได้ชิมและตัดสินการแข่งขันการทำแกงเนื้อของ "คุณขำ" กับ "แม่อึ่ง" ทั้งคู่ก็เริ่มเปิดใจให้กันมากขึ้น รวมถึงความสัมพันธ์ของคุณขำ กับคุณสุด ก็กำลังไปได้ด้วยดี
สถานการณ์โรคฝีดาษระบาดในสยามยังคงดำเนินต่อไปโดยไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้น ส่งผลกระทบถึงคณะละครนอกของครูทองคำที่ต้องพาลูกน้องทั้งหมดเดินทางกลับเข้าพระนครเพื่อความปลอดภัย ในขณะเดียวกัน คุณขำที่ถูกจำสนมได้ล้มป่วยด้วยไข้หนัก พระองค์เจ้าวิลาสจึงมีรับสั่งให้ปล่อยตัวทั้งคุณขำและคุณสุดออกมา
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส