ตรวจสอบแล้ว : ภาพผู้ประท้วงชาวตุรกีสวมชุดปิกาจูเป็นภาพที่สร้างจาก AI
รอบโลก#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว : ภาพผู้ประท้วงชาวตุรกีสวมชุดปิกาจูเป็นภาพที่สร้างจาก AI

สื่อหลายสำนักได้เผยแพร่ภาพที่แสดงผู้ประท้วงในชุดปิกาจูขณะวิ่งหนีตำรวจพร้อมคำกล่าวอ้างว่าเป็นภาพถ่ายจากการชุมนุมต่อต้านประธานาธิบดีเรเจป ทายยิป แอร์โดอัน ของประเทศตุรกี อย่างไรก็ตาม นี่เป็นภาพที่ถูกสร้างขึ้นด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI)

18 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปประท้วงตุรกี แท้จริงคือคลิปเก่า โป๊ปฟรานซิสเยือนติมอร์ – เลสเต
รอบโลก#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปประท้วงตุรกี แท้จริงคือคลิปเก่า โป๊ปฟรานซิสเยือนติมอร์ – เลสเต

ท่ามกลางกระแสความขัดแย้งทางการเมืองในตุรกี หลังการจับกุมเอเคร็ม อีมาโมกลู นายกเทศมนตรีอิสตันบูล คู่แข่งคนสำคัญของประธานาธิบดีแอร์โดกัน เกิดการประท้วงใหญ่ทั่วประเทศ แต่กลับมีการเผยแพร่คลิปวิดีโอที่บิดเบือนข้อเท็จจริง โดยอ้างว่าเป็นการประท้วงในตุรกี ทั้งที่จริงแล้วเป็นภาพพิธีกรรมทางศาสนาจากเหตุการณ์สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเสด็จเยือนติมอร์-เลสเต

18 เม.ย. 68

อย่าเชื่อ ! โพสต์อ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 บาท พบเป็นเพียงคลิปประท้วงค่าวีซ่าสูงเกินจริง
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

อย่าเชื่อ ! โพสต์อ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 บาท พบเป็นเพียงคลิปประท้วงค่าวีซ่าสูงเกินจริง

คนละเรื่อง ! คลิปอ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 แท้จริงเป็นคลิปประท้วงบริษัทเก็บค่าต่อวีซ่าและใบอนุญาตทำงานสูงเกินจริง

5 มี.ค. 68