อย่าหลงเชื่อ! ภาพพระฝึกสมาธิ ไม่ใช่ผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวเมียนมา
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

อย่าหลงเชื่อ! ภาพพระฝึกสมาธิ ไม่ใช่ผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวเมียนมา

ภาพถ่ายเก่าจากสถานปฏิบัติธรรมในเมียนมาถูกนำกลับมาแชร์ในโลกออนไลน์ พร้อมคำกล่าวอ้างเท็จว่าเป็นภาพผู้เสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ในช่วงปลายเดือนมีนาคม 2568 ที่คร่าชีวิตผู้คนในประเทศไปแล้วกว่า 3,000 ราย อย่างไรก็ตาม คำกล่าวอ้างนี้เป็นเท็จ ที่จริงแล้ว ภาพถ่ายเหล่านี้ถูกเผยแพร่ในโพสต์เกี่ยวกับการฝึกสมาธิตั้งแต่ปี 2562

11 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวปลอม

ตรวจสอบแล้ว คลิปอ้าง “ชเวดากองถล่ม” ที่แท้เป็น “เจดีย์ปรียาติ” ในรัฐฉาน

หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงในเมียนมา Thai PBS Verify พบคลิปอ้างเจดีย์ "ชเวดากองถล่ม" แต่จากการตรวจสอบพบว่าเป็นเจดีย์ของวัดแห่งหนึ่งในเมืองพินดายา รัฐฉาน ประเทศเมียนมา เตือนอย่าหลงเชื่อหลังคนแห่ดูไปถึง 10 ล้านครั้ง

31 มี.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว : โพสต์อ้าง “สะพานภูมิพลสลิงขาด” แค่ข่าวลือ !
สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ#ข่าวบิดเบือน

ตรวจสอบแล้ว : โพสต์อ้าง “สะพานภูมิพลสลิงขาด” แค่ข่าวลือ !

โพสต์อ้าง "สะพานภูมิพลสลิงขาด" จากการตรวจสอบมีเพียงการปิดสะพานเนื่องจากมีเศษหินหล่นขวางการจราจร ด้าน กรมทางหลวงชนบท ยันไม่เป็นความจริง พร้อมเปิดให้สัญจรตามปกติแล้ว

29 มี.ค. 68

อย่าเชื่อ ! โพสต์อ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 บาท พบเป็นเพียงคลิปประท้วงค่าวีซ่าสูงเกินจริง
สังคมและสุขภาพ#ข่าวปลอม

อย่าเชื่อ ! โพสต์อ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 บาท พบเป็นเพียงคลิปประท้วงค่าวีซ่าสูงเกินจริง

คนละเรื่อง ! คลิปอ้างแรงงานเมียนมาขอขึ้นค่าแรง 700 แท้จริงเป็นคลิปประท้วงบริษัทเก็บค่าต่อวีซ่าและใบอนุญาตทำงานสูงเกินจริง

5 มี.ค. 68