หากพูดถึงความรู้และความเข้าใจด้านกายวิภาคของสัตว์คงถือได้ว่าเป็นหัวใจของการเป็นสัตวแพทย์เลยก็ว่าได้ เนื่องจากการเรียนกายวิภาคต้องใช้มิติที่สมจริงมากกว่าการเรียนจากภาพสองมิติ แม้แต่เรียนจากอวัยวะจริงเมื่อนำมาวางไว้บนโต๊ะห้องปฏิบัติการก็ไม่มีความคงตัวและแบนแฟบ ทำให้นิสิตไม่มีจินตนาการพอให้เกิดความเข้าใจว่าระบบการย่อยมีกระบวนการอย่างไร จากปัญหาดังกล่าวนักวิจัยจากคณะสัตวแพทย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้พัฒนา AR จำลองกระเพาะของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งเป็นสื่อการสอนยุคดิจิทัล
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "ไทยประดิษฐ์คิดเก่ง" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/ThaiInvention
หากพูดถึงความรู้และความเข้าใจด้านกายวิภาคของสัตว์คงถือได้ว่าเป็นหัวใจของการเป็นสัตวแพทย์เลยก็ว่าได้ เนื่องจากการเรียนกายวิภาคต้องใช้มิติที่สมจริงมากกว่าการเรียนจากภาพสองมิติ แม้แต่เรียนจากอวัยวะจริงเมื่อนำมาวางไว้บนโต๊ะห้องปฏิบัติการก็ไม่มีความคงตัวและแบนแฟบ ทำให้นิสิตไม่มีจินตนาการพอให้เกิดความเข้าใจว่าระบบการย่อยมีกระบวนการอย่างไร จากปัญหาดังกล่าวนักวิจัยจากคณะสัตวแพทย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้พัฒนา AR จำลองกระเพาะของสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งเป็นสื่อการสอนยุคดิจิทัล
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "ไทยประดิษฐ์คิดเก่ง" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/ThaiInvention