ย้อนกลับไปวันที่ 28 มีนาคม ที่ผ่านมา จุดเริ่มต้นของแผ่นดินไหวอยู่ที่รอยเลื่อนสะกาย ประเทศเมียนมา ขนาด 8.2 ริกเตอร์ ลึกลงไป 10 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพฯ 1,100 กิโลเมตร ส่งผลให้เกิดแรงสั่นสะเทือนในหลายพื้นที่ แต่หลังจากนั้นก็ยังเกิดอาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง แม้อาจจะไม่สะเทือนเหมือนในครั้งแรก ๆ แต่เรื่องนี้ยังคงต้องติดตาม และอีก 2 คำถามสำคัญที่อยากจะให้คำตอบคุณผู้ชมในช่วงนี้ คือ ตึกอาคารที่เกิดรอยร้าวขึ้นแล้วจะประเมินความเสี่ยงอย่างไร และตึกเก่า ๆ สร้างแข็งแรงกว่าตึกใหม่จริงหรือไม่พูดคุยเรื่องนี้กับ รศ.ดร. สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "นครฮีลใจ" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/HealingCities
ย้อนกลับไปวันที่ 28 มีนาคม ที่ผ่านมา จุดเริ่มต้นของแผ่นดินไหวอยู่ที่รอยเลื่อนสะกาย ประเทศเมียนมา ขนาด 8.2 ริกเตอร์ ลึกลงไป 10 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพฯ 1,100 กิโลเมตร ส่งผลให้เกิดแรงสั่นสะเทือนในหลายพื้นที่ แต่หลังจากนั้นก็ยังเกิดอาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง แม้อาจจะไม่สะเทือนเหมือนในครั้งแรก ๆ แต่เรื่องนี้ยังคงต้องติดตาม และอีก 2 คำถามสำคัญที่อยากจะให้คำตอบคุณผู้ชมในช่วงนี้ คือ ตึกอาคารที่เกิดรอยร้าวขึ้นแล้วจะประเมินความเสี่ยงอย่างไร และตึกเก่า ๆ สร้างแข็งแรงกว่าตึกใหม่จริงหรือไม่พูดคุยเรื่องนี้กับ รศ.ดร. สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "นครฮีลใจ" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/HealingCities