ประเด็นข่าว (20 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ข่าวปลอม ดื่มน้ำมะนาวสดช่วยล้างไต, นักท่องเที่ยวทยอยใช้สิทธิจองที่พักโครงการ “เราเที่ยวด้วยกัน” และวางแผนการเงิน ในสถานการณ์โควิด-19
ประเด็นข่าว (17 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ผู้สูงอายุแชร์ข่าวปลอมมากที่สุด, ใช้งานสมาร์ตโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ เสี่ยงเป็นโรคนิ้วล็อก และนวดไทย มรดกทางวัฒนธรรม
ประเด็นข่าว (16 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ช่วยเหลือลูกหนี้รายย่อยกว่า 11 ล้านบัญชี, สวมเสื้อผ้า หรือหน้ากากผ้าเปียกชื้น เสี่ยงเกิดเชื้อรา และเด็กทำกิจกรรมน้อยเสี่ยงพัฒนาการช้า
ประเด็นข่าว (15 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ข่าวปลอม ขมิ้นชันผสมเบกิงโซดารักษาฟันผุ, กิจกรรมทางกายของคนไทยลดต่ำสุดในรอบหลายปี และบัณฑิตจบใหม่มีสิทธิ์ตกงาน เพราะพิษโควิด-19
ประเด็นข่าว (14 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ขยะอาหาร ปัจจัยเพิ่มโลกร้อน, สารอาหาร ประโยชน์ของไข่ และงดเหล้าเข้าพรรษา ช่วยประหยัดเงินได้ 8,000 ล้านบาท
ประเด็นข่าว (13 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ผู้มีสิทธิลงทะเบียน ต้องมีสัญชาติไทยและอายุ 18 ปี, พยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ เสี่ยงโรคไข้เลือดออก และชุมชนต้นแบบ เปลี่ยนขยะมาใช้ประโยชน์อย่างครบวงจร
ประเด็นข่าว (10 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : เคี้ยวอาหารละเอียดช่วยร่างกายดูดซึมอาหารได้ดีขึ้น, ข่าวปลอม รัฐบาลใช้ พ.ร.บ.ข้าว ห้ามชาวนาขายข้าวเอง และทางออกประชากรไทย แก้ปัญหาผู้สูงวัยและเยาวชน
ประเด็นข่าว (9 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : กระแสต้นไม้ฟอกอากาศ, ขอความร่วมมือขับขี่ระมัดระวังในเขตอุทยาน และวิถีประมงปากน้ำปราณ แหล่งศึกษา “ธนาคารปู”
ประเด็นข่าว (8 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ต่างชาติแบนกะทิไทย เหตุใช้ลิงเก็บมะพร้าว, แพทย์เตือนระวังด้วงกระเบื้องบุกเข้าบ้านในช่วงฤดูฝน และข่าวปลอม ดื่มน้ำปั่นใบไม้สดช่วยรักษามะเร็ง
ประเด็นข่าว (7 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : แพทย์แนะถวายสังฆทานยาสมุนไพร, ผลักดันอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานขึ้นทะเบียนมรดกโลก และ 5 วิธีปฏิบัติขับขี่ปลอดภัย
ประเด็นข่าว (6 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : หลังผ่อนคลายมาตรการ คนไทยไปศาสนสถานเพิ่มขึ้น, อุบัติเหตุทางถนนคร่าชีวิตคนไทยปีละ 24,000 คน และท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติแบบชีวิตวิถีใหม่
ประเด็นข่าว (3 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : ผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวกับความเสี่ยงโควิด-19, 3 ก.ค. วันปลอดถุงพลาสติกสากล และเยาวชนรุ่นใหม่รู้เท่าทันสื่อ MIDL For Youth
ประเด็นข่าว (2 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : บรรยากาศการปรับตัวรับเปิดเทอม, “หุ่นยนต์แบ่งปัน” นวัตกรรมเพื่อบุคลากรทางการแพทย์ และไอเดียคาเฟ่กาแฟข้าวหน้าเป็ด
ประเด็นข่าว (1 ก.ค. 63)พบกับประเด็น : สธ.เน้น 6 แนวทางป้องกันโควิด-19 ในโรงเรียน, ครม.เห็นชอบวันหยุดชดเชยสงกรานต์ 27 ก.ค.นี้ และ Medical Hub กับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ประเด็นข่าว (30 มิ.ย. 63)พบกับประเด็น : พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน TOP 100, ขสมก. ผ่อนคลายมาตรการ เพิ่มเที่ยวรถ รับเปิดเทอม และมาตรการเงินเยียวยาช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง
ประเด็นข่าว (29 มิ.ย. 63)พบกับประเด็น : พยากรณ์อากาศระบุประเทศไทยยังคงมีฝนตกหนักบางแห่ง, เกณฑ์การเลือกเปิดให้บริการอุทยานแห่งชาติ และออกกำลังกายไทสู่สุข ประยุกต์จากท่าฤาษีดัดตน
ประเด็นข่าว (26 มิ.ย. 63)พบกับประเด็น : วิจัยภูมิคุ้มกันผู้หายป่วยโควิด-19, โครงการรวมพลังตามหาคนอยากเลิกบุหรี่ และข่าวปลอม ยาสีฟันรักษาสิวได้
ประเด็นข่าว (25 มิ.ย. 63)พบกับประเด็น : การไฟฟ้านครหลวง ชวนถ่ายรูปมหานครที่ไร้สายไฟฟ้า, เตรียมเสนอร่างผ่อนคลายกิจการในระยะที่ 5 และสร้างความมั่นคงทางอาหาร ผ่านการเรียนรู้เกษตรกรรม
ประเด็นข่าว (24 มิ.ย. 63)พบกับประเด็น : กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนระวังฝนตกหนัก 25 - 29 มิ.ย.นี้, การจัดการขยะติดเชื้อ หน้ากากอนามัย และเพิ่มทักษะ พัฒนาชีวิตสู่โลกการทำงานหลังโควิด-19
ประเด็นข่าว (23 มิ.ย. 63)พบกับประเด็น : กระทรวงศึกษาธิการระบุโรงเรียนร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์ประเมิน, กรมการแพทย์ เตือนขูดหินปูนเองเสี่ยงอันตราย และข่าวปลอม ดื่มน้ำอัดลมใส่เกลือ แก้ท้องเสีย
No More Lonely Nights - Paul McCartney อัลบั้ม Give My Regards to Broad Street ปี ค.ศ.1973 ขับร้อง : บรรณ ใบชา
พบกับประเด็น...ชาวเน็ตแบ่งข้างหลังกรณี "แสตมป์ อภิวัชร์"..."อยู่บ้านคนเดียวแบบโสดๆ" เทรนด์มาแรงของผู้หญิงแดนมังกร
รู้ลึกอย่างรอบด้านและเท่าทันทุกเหตุการณ์สำคัญในรายการข่าวค่ำ ออกอากาศวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 18.50 - 20.30 น. และ เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 18.02 - 20.15 น. ทางไทยพีบีเอส
มารู้จักกับ "มาซาโตะ โอคาดะ" คุณหมอประจำห้องฉุกเฉินที่มีดีกรีแชมป์มวยไทยหลายเข็มขัด ที่มีความรักและความผูกพันลึกซึ้งกับเมืองไทยอย่างมาก เขาทุ่มเทในการเรียนรู้มวยไทย ภาษาไทย และมีความชื่นชอบในคนไทย อาหารไทย วัฒนธรรมไทย ไปจนถึงการมีของสะสมเป็นรถตุ๊กตุ๊ก และพระสมเด็จ มาติดตามความน่ารักของหมอมาซาโตะที่รักเมืองไทยแบบสุดหัวใจ
เยือนถิ่นเก่าบ้านเกิดของเชฟบุ๊ค ที่ถนนวชิรปราการ ย่านชุมชนเมืองเก่าจังหวัดชลบุรี พร้อมกับตะลุยกินของดีของเด็ด จัดเต็มตลอดทั้งรายการ
เดินอยู่ในเมืองเฟซ ไม่ได้รู้สึกว่ากำลังเดินอยู่ในดินแดนทวีปแอฟริกา ไม่ใช่เพราะเมืองนี้อยู่ใกล้ทวีปยุโรปจนได้รับอิทธิพล แต่เป็นเพราะวัฒนธรรมแบบอาหรับที่แข็งแรงและฝังรากลึกมายาวนาน
"พี่ชัย" เริ่มต้นด้วยความสงสัยว่าทำไมปลาชะโอนที่หลายคนชอบกินถึงราคาสูงแต่ไม่ค่อยมีคนเลี้ยง เขาจึงพยายามศึกษาหาวิธีการเลี้ยงจนได้เจอกับการเลี้ยงปลาระบบปิด ที่ตอบโจทย์ได้ดี
แฟนจักรยานไทยเตรียมพร้อมกับศึกชิงจ้าวถนนใน “ปั่นสู่ฝัน คนวัยมันส์” กับการแข่งขันจักรยานประเภทถนน (Road Race) ชิงแชมป์ประเทศไทย สนามที่ 1 ประจำปี 2568 ถ่ายทอดสดจากเขื่อนวชิราลงกรณ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี
แม้ว่าคุณสุดจะสอบผ่าน แต่กรมหมื่นไกรสรวิชิตก็ยังเป็นกังวลอยู่กลัวจะมีปัญหาเพราะคุณสุดเป็นผู้หญิง จึงไปปรึกษากับพระองค์ชายนวมเพื่อจัดสอบอาลักษณ์หลวงด้วยการสอบคัดลายมืออีกครั้ง จะได้ไม่เป็นที่ครหาของเหล่าบุตรหลานขุนนางที่ร่วมแข่งขัน เมื่อพระองค์เจ้าวิลาสรู้จึงสั่งให้คุณสุวรรณสอนคุณสุดอย่างสุดฝีมือ
หลังจากพระเจนอภิบาลได้เบาะแสเรื่องพ่อค้าฝิ่นรายใหญ่ก็ได้นำกำลังตำรวจหลวงบุกไปจับเจ้าสัวเหลียงทันที แต่เจ้าสัวเหลียงไม่ยอมให้จับง่าย ๆ ทำให้เกิดการปะทะขึ้น ส่วนแม่แก้วหลบหนีไปกับชุ่ม ซึ่งสร้างความกังวลใจให้พระองค์เจ้าวิลาสอย่างมากเพราะเกรงแม่แก้วจะก่อเรื่องเดือดร้อนขึ้นอีก
ยิ่งใกล้ถึงวันที่คุณขำต้องไปสอบแข่งขันประชันฝีมือตำแหน่งแม่ครัวหลวง ก็ยิ่งเป็นห่วงอาการประชวรของพระองค์เจ้าวิลาสเลยทำให้คุณขำเป็นกังวลไม่อยากไปสอบ คุณสุดจึงพยายามให้กำลังใจอย่างใกล้ชิด
เมื่อพระเจนอภิบาลได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งให้เป็นแม่กองปราบฝิ่นที่หัวเมืองปักษ์ใต้ ก่อนออกเดินทางจึงไปขอคำอวยพรปลอบขวัญจากคุณขำ และยังฝากผ้ายกเมืองนครมาให้อีกด้วย ซึ่งสร้างความไม่สบายใจให้ คุณสุดจนพระองค์เจ้าวิลาส ต้องเก็บผ้าผืนนี้ไว้ก่อนเพื่อให้คุณสุดได้ตั้งใจสอบอาลักษณ์หลวงให้ผ่านตามความมุ่งหวัง
สูตรเด็ดเคล็ด(ไม่)ลับ กับเมนูเคยคั่วหอยไฟไหม้ดอง เมนูชวนข้าวหมดหม้อ อร่อยจนต้องขอเติม ติดตามได้ในรายการภัตตาคารบ้านทุ่ง ชมวิธีทำต่อได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/BanTung/episodes/104918
หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพฯ เสด็จสวรรคต สร้างความโศกเศร้าให้ พระองค์เจ้าดาราวดี อย่างยิ่ง รวมถึง หม่อมขำ ก็ร้องไห้หนัก จน หม่อมสุด ต้องคอยปลอบใจ ระหว่างนั้น หม่อมสอน กับ หม่อมเภา ผ่านมาเห็น ก็ว่าหม่อมขำกับหม่อมสุดเป็นคู่เล่นเพื่อนกัน
การจากไปอย่างกะทันหันของอึ่งทำให้แม่เนียมไม่สบายใจถึงขั้นกินไม่ได้และนอนฝันร้ายทุกคืน ทุกคนในเรือนบ่าวเห็นอาการของแม่เนียมจึงเป็นห่วง จนยวงต้องตัดสินใจไปปรึกษาพระองค์เจ้าวิลาสเพื่อหาทางปลอบใจ
ถือว่าเป็นการเปิดประสบการณ์การดำน้ำในต่างประเทศครั้งแรกของ Navigator ทุกอย่างดูแปลกตาและตื่นเต้นมากๆ เพราะที่ Red Sea ของประเทศอียิปต์ เราจะได้มีโอกาสเจอสัตว์ใหญ่ใต้ท้องทะเลหลายชนิด โดยเฉพาะไฮไลท์ของที่นี่คือ ฉลามหัวค้อน นอกจากนี้การท่องเที่ยวบนบกของที่อียิปต์ยิ่งน่าสนใจโดยเฉพาะ ความยิ่งใหญ่ ของสิ่งก่อสร้างที่ชื่อว่า "พีระมิด"
คุณสุด ตัดสินใจไปกราบทูลขอประทานอนุญาตพระองค์เจ้าวิลาส เพื่ออยู่กินกับคุณขำดังเช่นคู่เล่นเพื่อนคู่อื่น ๆ ซึ่งทำให้พระองค์เจ้าวิลาสรวมถึงคุณสุวรรณพยายามดึงสติคุณสุดด้วยความเป็นห่วง
นุชนาฏ ได้งานเป็นผู้ช่วยเชฟในโรงเรียนสอนทําอาหารในโรงแรมชื่อดังเธอได้ร่วมงานกับหัวหน้าเชฟสุดเนี้ยบอย่าง ปกรณ์ ที่เป็นคนไทยเหมือนกันแต่กลับไม่เคยออมชอม...
ความรักเอย ... เจ้าลอยลมมาหรือไร .... มาดลจิต มาดลใจ เสน่หา เพลง : เสน่หา (เพลงประกอบละคร "จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี") คำร้อง : มนัส ปิติสานต์ เรียบเรียง : ณัฐพากย์ กวีธรรมวงษ์ ขับร้อง : จีรภัทร จันทร์แจ้ง ติดตามชมละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ตอนแรก วันที่ 1 – 2 มกราคมนี้ เวลา 20.15 - 21.10 น. ทาง #ThaiPBS #ช่องหมายเลข3 ▶ ชมสดออนไลน์ Website : www.thaipbs.or.th/Live Facebook : @ThaiPBS ▶ ชมอีกครั้งทาง Website : www.VIPA.me Application VIPA : https://bit.ly/3rJQ7HA
บทบาทใหม่ของ #ก๊อตจิรายุ และการร่วมงานกับไทยพีบีเอสครั้งแรก! แค่เปิดตัว "ปกรณ์" มาก็หล่อหนักมาก แฟน ๆ เตรียมกรี๊ดกันได้เลย พบกันในละคร #จากเจ้าพระยาสู่อิรวดี ละครรัก ย้อนประวัติศาสตร์
เบื้องหลังการผลิตละครหม่อมเป็ดสวรรค์นั้นมีความน่าสนใจในหลากหลายแง่มุม ทั้งวิธีคิดในการหยิบยกเอาเรื่องราวความหลากหลายทางเพศที่เกิดขึ้นจริงในยุคสมัยของรัชกาลที่ 3 ซึ่งไม่เพียงสะท้อนถึงเรื่องราวที่มีต้นกำเนิดจาก บทประพันธ์เพลงยาวหม่อมเป็ดสวรรค์เท่านั้นยังครอบคลุมถึงวิธีคิดในการสืบค้นข้อมูลจำนวนมากของเหล่าทีมงานเบื้องหลัง
ครูทองคำหลังจากแสดงในงานพระศพพระองค์เจ้าสังข์เสร็จก็ออกไปเป็นละครเร่ดังเดิม ยวงชวนปานไปเปิดหูเปิดตาที่ตลาด พอปริกรู้จึงขอตามไปด้วยเผื่อจะได้เจอกับมั่นพร้อมทั้งอาสาพาปานไปเที่ยววัดโพธิ์ด้วย ระหว่างที่ปริกแอบเลี่ยงไปหามั่น อึ่งสะกดรอยตามไปด้วยความหึงหวงและโกรธแค้นใจ
ระหว่างที่ "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" กำลังเตรียมอาหารอยู่ในครัวตามที่ได้รับมอบหมายหน้าที่จาก พระองค์เจ้าดาราวดี ให้ดูแลเครื่องเสวยถวายเจ้านายในงานพระศพ หม่อมขำ ได้ทำการลองชิมให้ได้รสที่ถูกใจก่อนถวาย พอ "หม่อมแก้ว" เห็นก็ไม่พอใจที่ หม่อมขำ ตักอาหารกินก่อนเจ้านาย พยายามเอาเรื่องให้ถึงที่สุด
"พระองค์เจ้าวิลาส" เสด็จไปร่วมงานพระศพฯ "หม่อมขำ" ซึ่งทำหน้าที่ดูแลเครื่องเสวยก็ได้จัดเตรียมพระกระยาหารด้วยความกังวลเพราะกลัวจะไม่ถูกพระโอษฐ์พระองค์เจ้าวิลาส พอ "หม่อมสุด" เห็นก็เป็นห่วง จึงพยายามปลอบและให้กำลังใจ
เรื่องราวเริ่มบานปลายเมื่อ คุณสุด กับ คุณขำ มีเรื่องกับ แม่แก้ว และ ชุ่ม ที่ตลาด แม่แก้วเอาไปร้องเรียนกรมวังเพื่อเอาผิดคุณสุดกับคุณขำ เพราะทั้งคู่ทำผิดกฎมณเฑียรบาล ที่ว่าเป็นพวกเล่นเพื่อนกัน วุ่นวายถึงศาลหลวงต้องสั่งให้ตระลาการไต่สวนข้อเท็จจริงในคดีความนี้เป็นการด่วน
น้ำชุบ หรือที่คนทั่วไปรู้จักในกันว่าน้ำพริก เป็นอาหารรสชาติเผ็ดร้อน ที่บ่งบอกความเป็นตัวตนของคนใต้ได้เป็นอย่างดี ทุกพื้นที่ของภาคใต้ล้วนมีเมนูน้ำชุบที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ แต่มีเพียงที่เดียวเท่านั้นที่ได้นำของเหลือทิ้งอย่างกะลามะพร้าว หรือพรก มาต่อยอดให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ประจำชุมชนที่ชื่อว่า "น้ำชุบพรก"
หลังจาก "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" ได้เข้าเฝ้า "พระองค์เจ้าวิลาส" ก็ยิ่งทำให้หม่อมขำถึงกับนอนไม่หลับ เพราะคิดถึงตอนที่พระองค์เจ้าวิลาสได้ฟังเสียง หม่อมสุดท่องกลอนด้วยความเมตตา จนกลัวพระองค์เจ้าวิลาสจะทรงรับหม่อมสุดไปอยู่ที่ตำหนักใหญ่เพียงคนเดียว หม่อมสุดจึงคอยปลอบใจอย่างใกล้ชิด
หลังจาก "พระองค์เจ้าวิลาส" ได้ชิมและตัดสินการแข่งขันการทำแกงเนื้อของ "คุณขำ" กับ "แม่อึ่ง" ทั้งคู่ก็เริ่มเปิดใจให้กันมากขึ้น รวมถึงความสัมพันธ์ของคุณขำ กับคุณสุด ก็กำลังไปได้ด้วยดี
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส