เกษตรกรรมเป็นหนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญที่สุดของเศรษฐกิจอาร์เมเนีย อาร์เมเนียเป็นหนึ่งในประเทศแรก ๆ ที่มีการปฏิรูปที่ดินหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ประมาณร้อยละ 30 ของคนงานในอาร์เมเนียทำงานในภาคเกษตรกรรม คนรุ่นใหม่ในอาร์เมเนียและผู้ที่มีที่ดินในครอบครองต่างกำลังเร่งศักยภาพในการแข่งขันกับตลาดโลก ทั้งสร้างแบรนด์จากผลผลิตการเกษตรของตัวเอง แม้แต่ฟาร์มเล็ก ๆ ที่มีพื้นที่เพียงไม่ถึง 20 ไร่ ด้วยแรงบันดาลใจที่ขับเคลื่อนมาจากรุ่นสู่รุ่น ณ พื้นที่ใจกลางแผ่นดินยูเรเซีย
Agriculture is one of the most important sectors in the economy of Armenia. The country was among the first to privatize land following the collapse of the Soviet Union. About 30% of the workforce in Armenia operates in the agricultural sector. The young people of Armenia, as well as the landowners, are working hard to compete with the world market. They are building brands using their own farm produce, and this is the case even for those with small farms covering up to 20 rai. The people continue to be inspired to drive their economy and society forward, as they have done for generations, here in the heartland of Eurasia.
ติดตามเรื่องราวได้ใน Spirit of Asia ตอน บินไปด้วย “ปีกของทาเท็ฟ” สู่กลางใจของยูเรเซีย วันอาทิตย์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 16.30 - 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live และสามารถเลือกรับชมด้วยเสียงภาคภาษาอังกฤษ คลิก Setting ไปที่ Audio Track เลือกเสียง ซาวด์แทร็ก
Spirit of Asia
มาตุภูมิแห่งขุนเขาและรกรากจากมารดา
เกียวโตพาสเทล วันซีดจางในยุคโควิด-19
เฝ้ารอการผลิดอกใหม่ ในคานาซาวะ
รากสยามในแดนมลายู
เกดะห์ พื้นที่ทับซ้อนแห่งชาติพันธุ์
จากซิงกอราถึงสงขลาบนคาบสมุทรสทิงพระ
พหุวิถี ณ สงขลา
180 ปี สงขลา ภาพจำที่ชัดเจน
เดียนเบียนฟู ลานชีวิตในงานเฉลิมฉลอง
มังกรขาว สะพานชีวิตของชาวหมกโจว
ฮานอยและจาการ์ตา ปลดล็อกดาวน์ทาวน์
ยามที่จาการ์ตาปริ่มน้ำ
สำรวจนูซันตารา เมืองหลวงแห่งใหม่อินโดนีเซีย
จากชนเผ่าสู่ชาวเมืองนูซันตารา สังคมอนาคตอินโดนีเซีย
ตามรอยลูกปัดร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ
ลูกปัด ศรัทธา ศาสนา และเส้นทางการค้าโบราณ
ลูกปัดคู่วิญญาณ
ครบรอบ 1 ปี รถไฟความไวสูงลาว - จีน
สตาร์ตอัปลาวทำ ลาวใช้ ลาวเจริญ
อำนาจสกุลหยวนในกัมพูชา
สีหนุวิลล์ที่ชายขอบอ่าวไทย
“บาเรฟ เซซ ฮายาสถาน” ความทรงจำถึงใบหน้าของหญิงสาว
"บลูเซวาน" หัวใจสีฟ้าของชาวอาร์เมเนีย
บินไปด้วย “ปีกของทาเท็ฟ” สู่กลางใจของยูเรเซีย
พันธนาการขงจื้อในสังคมเกาหลีใต้
เสียงจากหญิงเกาหลีใต้ "ใครจะอยู่ข้างฉัน"
ฝึกอ่านเขียน เรียนปีนังครั้งเยาว์วัย
เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ ที่ปีนัง
ปีนัง - ภูเก็ต สองพี่น้องในทะเลอันดามัน
มองลอดลายฉลุ บนชายเสื้อเคบาย่า
Spirit of Asia
มาตุภูมิแห่งขุนเขาและรกรากจากมารดา
เกียวโตพาสเทล วันซีดจางในยุคโควิด-19
เฝ้ารอการผลิดอกใหม่ ในคานาซาวะ
รากสยามในแดนมลายู
เกดะห์ พื้นที่ทับซ้อนแห่งชาติพันธุ์
จากซิงกอราถึงสงขลาบนคาบสมุทรสทิงพระ
พหุวิถี ณ สงขลา
180 ปี สงขลา ภาพจำที่ชัดเจน
เดียนเบียนฟู ลานชีวิตในงานเฉลิมฉลอง
มังกรขาว สะพานชีวิตของชาวหมกโจว
ฮานอยและจาการ์ตา ปลดล็อกดาวน์ทาวน์
ยามที่จาการ์ตาปริ่มน้ำ
สำรวจนูซันตารา เมืองหลวงแห่งใหม่อินโดนีเซีย
จากชนเผ่าสู่ชาวเมืองนูซันตารา สังคมอนาคตอินโดนีเซีย
ตามรอยลูกปัดร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ
ลูกปัด ศรัทธา ศาสนา และเส้นทางการค้าโบราณ
ลูกปัดคู่วิญญาณ
ครบรอบ 1 ปี รถไฟความไวสูงลาว - จีน
สตาร์ตอัปลาวทำ ลาวใช้ ลาวเจริญ
อำนาจสกุลหยวนในกัมพูชา
สีหนุวิลล์ที่ชายขอบอ่าวไทย
“บาเรฟ เซซ ฮายาสถาน” ความทรงจำถึงใบหน้าของหญิงสาว
"บลูเซวาน" หัวใจสีฟ้าของชาวอาร์เมเนีย
บินไปด้วย “ปีกของทาเท็ฟ” สู่กลางใจของยูเรเซีย
พันธนาการขงจื้อในสังคมเกาหลีใต้
เสียงจากหญิงเกาหลีใต้ "ใครจะอยู่ข้างฉัน"
ฝึกอ่านเขียน เรียนปีนังครั้งเยาว์วัย
เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ ที่ปีนัง
ปีนัง - ภูเก็ต สองพี่น้องในทะเลอันดามัน
มองลอดลายฉลุ บนชายเสื้อเคบาย่า