"เว็บพนันถูกกฎหมาย กักตัวไม่กลัวจน อีกหนึ่งอย่างที่ทำได้ในยุคโควิด-19 อยู่บ้านเฉย ๆ ก็หาเงินได้ เล่นง่าย สบายมั่นคง" นี่คือข้อความบางส่วนจากเว็บไซต์พนันออนไลน์ ที่ใช้กลวิธีหว่านล้อมดึงดูดใจให้คนคลิกเข้าไปสู่การทดลองเล่นการพนันออนไลน์ โดยจะเห็นคำโฆษณาชักจูงใจเหล่านี้บ่อย ๆ จากเว็บไซต์ดูหนัง ฟังเพลงที่ละเมิดลิขสิทธิ์ หรือใช้วิธีการโฆษณาผ่านบุคคลที่เป็นที่รู้จักในโลกโซเชียลหรือที่เรียกว่า เน็ตไอดอล เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ นอกจากนี้ยังมีวิธีการชักจูงใจให้สอดคล้องกับสถานการณ์โควิด-19 ที่หลายคนขาดสภาพคล่อง ไม่มีรายได้ เว็บพนันออนไลน์มักจะไลฟ์สดแจกเงิน แต่มีข้อแม้ว่าผู้ที่อยากได้เงินต้องกดไลค์กดแชร์ และจะมีลิงก์ของเว็บไซต์พนันออนไลน์ติดอยู่ด้วย ข้อมูลจากมูลนิธิรณรงค์หยุดพนันเปิดเผยว่า ในช่วงที่คนไทยอยู่บ้านเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 การใช้สื่อออนไลน์ที่เพิ่มขึ้น ทำให้เว็บไซต์พนันออนไลน์มีคนเข้าถึงมากด้วยเช่นกัน จากการสำรวจพบว่าผู้ใช้สื่อออนไลน์ ร้อยละ 50 เคยเห็นโฆษณาเว็บไซต์พนันออนไลน์ ซึ่งผู้ที่เคยเห็นโฆษณาเหล่านี้ร้อยละ 30 จะสนใจคลิกเข้าไปดูเว็บไซต์พนันออนไลน์ และจะตกหลุมพรางกลายเป็นนักพนันหน้าใหม่ถึงร้อยละ 15 เลยทีเดียว จึงอยากชวนคุณผู้ชมไปรู้เท่าทันกลวิธีการโฆษณาชักจูงใจของเว็บไซต์พนันออนไลน์ทำให้หลาย ๆ คนหลงเชื่อ และทดลองเข้าไปเป็นนักพนันหน้าใหม่
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์