ภาพการกว้านซื้อของจนหมดชั้นวางสินค้า เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยที่ขณะนี้มีประชาชนจำนวนมาก ออกมาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคเก็บไว้ล่วงหน้า เพราะกังวลต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 การซื้อสินค้าด้วยอาการตื่นตระหนกเช่นนี้ คือปรากฏการณ์ที่เรียกว่า Panic Buying ซึ่งเรามักจะเห็นปรากฏการณ์นี้บ่อย ๆ ในยามวิกฤต ทำให้สินค้าบางอย่างที่เคยอยู่นอกสายตา กลับเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคอย่างก้าวกระโดด ส่งผลให้สินค้านั้นขาดแคลนและมีราคาสูงลิ่ว แต่งานวิจัยของ ดร.ทิม ฟ็อกซ์ หัวหน้าฝ่ายพลังงานและสิ่งแวดล้อม ของสถาบันวิศวกรรมเครื่องกลในประเทศอังกฤษ ศึกษาพบว่าในแต่ละปีมีอาหารที่ถูกทิ้งจากการกักตุนมากกว่า 2,000 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 30 - 50 ของอาหารจำนวน 4,000 ล้านตันที่ผลิตได้ทั่วโลก โดยสาเหตุที่ทำให้คนบริโภคสินค้าเกินพอดี ส่วนหนึ่งก็มาจากการซื้อของที่ "ลด แลก แจก แถม" โดยลืมคิดไปว่าจะบริโภคสินค้านั้นทันก่อนวันหมดอายุหรือไม่? หรืออาจจะไม่ทันตั้งคำถามกับตัวเองว่าสินค้าเหล่านั้นจำเป็นต่อชีวิตจริง ๆ หรือเปล่า แล้วเราควรทำอย่างไรเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะ Panic Buying ไปรู้เท่าทันสื่อเรื่องนี้กัน
ติดตามชมได้ในรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 13.45 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ
เมื่อวัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศผ่านสื่อ
เมื่อ "สื่อ" บอกวิธีการฆาตกรรมอย่างละเอียด
ทำไมไม่ควรเปิดจอให้ลูกดูตอนกินข้าว
ทำไมชาวเน็ตถึงล่าแม่มดออนไลน์
ทำไมเราถึงระบายอารมณ์ผ่านโซเชียลมีเดีย
ทำไมเราถึงสนใจภาพความรุนแรง
ผู้บริโภคไทย "เหยื่อ" โฆษณาเกินจริง
Digital Empathy คืออะไร
ใครสร้างข่าวปลอมไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ภัยเงียบจากการ Sexting
นักสืบโซเชียลคือใคร
ฉายาอาชญากรจำเป็นหรือไม่
เมื่อประชาชนจับตาจริยธรรมสื่อมวลชน
Panic Buying คืออะไร
สื่อควรทำหน้าที่อย่างไรในภาวะวิกฤต
ทำไมเราถึงเชื่อและแชร์ข้อมูลผิด ๆ COVID-19
เมื่อโซเชียลมีเดียสร้างแรงกดดันให้บุคลากรทางการแพทย์
ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันภัย Phishing
กลลวงพนันออนไลน์
ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
วงจรข้อมูลลวง COVID-19
เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
โปรโมชันสินค้าออนไลน์