ปัจจุบันพบว่าผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าเพิ่มมากยิ่งขึ้น เนื่องจากขาดการทำกิจกรรมร่วมกันกับลูกหลาน หรือคนในครอบครัว และด้วยวัยที่ผ่านการใช้ชีวิตมาเป็นเวลา ผ่านความสูญเสียคนรัก คนใกล้ชิด ทำให้สะสมเป็นความเศร้าขึ้นในจิตใจ การทำกิจกรรมบำบัด เช่น การทำแบบฝึกหัดที่ได้ฝึกใช้สมองร่วมกับคนในครอบครัว เป็นหนึ่งในวิธีที่จะช่วยหลีกเลี่ยงความเศร้าในตัวผู้สูงอายุได้ ติดตามคำแนะนำจาก นพ.กฤต วรรณพฤกษ์ อายุรแพทย์ และติดตามการฝึก 3 กิจกรรมที่แนะนำสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้ากับ กภ.ทองใส ทองดี นักกายภาพบำบัด
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
ปัจจุบันพบว่าผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าเพิ่มมากยิ่งขึ้น เนื่องจากขาดการทำกิจกรรมร่วมกันกับลูกหลาน หรือคนในครอบครัว และด้วยวัยที่ผ่านการใช้ชีวิตมาเป็นเวลา ผ่านความสูญเสียคนรัก คนใกล้ชิด ทำให้สะสมเป็นความเศร้าขึ้นในจิตใจ การทำกิจกรรมบำบัด เช่น การทำแบบฝึกหัดที่ได้ฝึกใช้สมองร่วมกับคนในครอบครัว เป็นหนึ่งในวิธีที่จะช่วยหลีกเลี่ยงความเศร้าในตัวผู้สูงอายุได้ ติดตามคำแนะนำจาก นพ.กฤต วรรณพฤกษ์ อายุรแพทย์ และติดตามการฝึก 3 กิจกรรมที่แนะนำสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้ากับ กภ.ทองใส ทองดี นักกายภาพบำบัด
ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak