โรคเกาต์เทียม มีปัจจัยเสี่ยงมาจากอายุที่เพิ่มมากขึ้นพบได้บ่อยในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี นอกจากอายุยังมีปัจจัยอื่น เช่น ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง (Hyperparathyroidism) ภาวะเหล็กเกินในร่างกาย (Hemochromatosis) ไม่ใช่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่เป็นได้แต่อายุน้อยก็สามาถเป็นได้เช่นกันสาเหตุเกิดจากพันธุกรรม อาการของโรคเกาต์จริง และโรคเกาต์เทียมทั้ง 2 แบบที่เหมือนกัน คือ ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณตำแหน่งข้อล่างเป็นหลักวัน แต่เกาต์เทียมสามารถปวดได้นานกว่าเกาต์จริงเป็นหลักเดือน ติดตามความรู้จาก พญ.วิภาดา จาติเสถียร อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่ม โรงพยาบาลจุฬาภรณ์
แนะนำท่าออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุมักมีปัญหาปวดข้อเข่า นอกจากนี้ยังมีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมา เช่น โรคเบาเหวาน โรคความดัน โรคหัวใจ โรคไขมันในเลือด จึงต้องระวังในเรื่องของการออกกำลังกายเป็นพิเศษ ต้องระวังในบางท่าที่อาจทำให้โรคที่เป็นนั้นกำเริบได้ เพราะฉะนั้นลองเริ่มฝึกบริหารร่างกายจากท่าง่าย ๆ เน้นทำช้า ทำเบา แต่สามารถทำได้นาน หมั่นฝึกเป็นประจำจะช่วยลดปัญหาข้อเข่าที่เคยปวดให้ดีขึ้น เพียงหมั่นดูแลสุขภาพให้ดี คุณภาพชีวิตจะดีขึ้นตาม ติดตามความรู้จาก นพ.ฆนัท ครุธกูล อายุรแพทย์โรคหัวใจและนายกสมาคมโภชนาการเพื่อกีฬาและสุขภาพ
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันพุธที่ 13 ธันวาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Liveโรคเกาต์เทียม มีปัจจัยเสี่ยงมาจากอายุที่เพิ่มมากขึ้นพบได้บ่อยในผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปี นอกจากอายุยังมีปัจจัยอื่น เช่น ภาวะฮอร์โมนพาราไทรอยด์สูง (Hyperparathyroidism) ภาวะเหล็กเกินในร่างกาย (Hemochromatosis) ไม่ใช่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่เป็นได้แต่อายุน้อยก็สามาถเป็นได้เช่นกันสาเหตุเกิดจากพันธุกรรม อาการของโรคเกาต์จริง และโรคเกาต์เทียมทั้ง 2 แบบที่เหมือนกัน คือ ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณตำแหน่งข้อล่างเป็นหลักวัน แต่เกาต์เทียมสามารถปวดได้นานกว่าเกาต์จริงเป็นหลักเดือน ติดตามความรู้จาก พญ.วิภาดา จาติเสถียร อายุรแพทย์โรคข้อและรูมาติสซั่ม โรงพยาบาลจุฬาภรณ์
แนะนำท่าออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุมักมีปัญหาปวดข้อเข่า นอกจากนี้ยังมีปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมา เช่น โรคเบาเหวาน โรคความดัน โรคหัวใจ โรคไขมันในเลือด จึงต้องระวังในเรื่องของการออกกำลังกายเป็นพิเศษ ต้องระวังในบางท่าที่อาจทำให้โรคที่เป็นนั้นกำเริบได้ เพราะฉะนั้นลองเริ่มฝึกบริหารร่างกายจากท่าง่าย ๆ เน้นทำช้า ทำเบา แต่สามารถทำได้นาน หมั่นฝึกเป็นประจำจะช่วยลดปัญหาข้อเข่าที่เคยปวดให้ดีขึ้น เพียงหมั่นดูแลสุขภาพให้ดี คุณภาพชีวิตจะดีขึ้นตาม ติดตามความรู้จาก นพ.ฆนัท ครุธกูล อายุรแพทย์โรคหัวใจและนายกสมาคมโภชนาการเพื่อกีฬาและสุขภาพ
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันพุธที่ 13 ธันวาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live