ค้นหา
ทีวีออนไลน์
เว็บไซต์ในเครือ
เว็บไซต์บริการ
คนสู้โรค
คนสู้โรค

ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี

หน้ารายการ
23 ส.ค. 66
  • รู้สู้โรค : ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี

ขมิ้นชัน มีสารเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoid) พบได้ในพืชมีเหง้าและพืชวงศ์ขิง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดอาการอักเสบ และลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด ทำให้มีการนำขมิ้นชันมาประยุกต์ใช้ในอาหารและยาอย่างแพร่หลาย รสชาติของขมิ้นชันจะมี 2 รสชาติ ได้แก่รสเผ็ด ช่วยไล่ลมในท้องได้ แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และรสฝาดหรือจะเรียกกันว่ารสฝาดสมานแผล ช่วยลดอาการอักเสบ ซึ่งการรับประทานขมิ้นชันนั้นถ้าเรากินตามเวลาที่อวัยวะต่าง ๆ กำลังทำงานก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบในร่างกายทำงานได้ดียิ่งขึ้น แต่การรับประทานขมิ้นชันแคปซูลติดต่อกันนาน ๆ อาจทำให้ร่างกายมีสารตกค้างได้ ควรจำกัดในปริมาณที่เหมาะสม และหากจะกินเพื่อรักษาโรค ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอ เนื่องจากสรรพคุณในขมิ้นชันมีผลกระทบข้างเคียงต่อผู้ป่วยบางกลุ่ม เช่น เด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้ที่เป็นท่อน้ำดีอุดตัน และนิ่วในถุงน้ำดี ติดตามความรู้จาก ณัฐพล วาสิกดิลก แพทย์แผนไทย

  • ปรับก่อนป่วย : เอ็นหัวไหล่อักเสบจากเวตเทรนนิง
อาการเอ็นหัวไหล่อักเสบเป็นภาวะที่เกิดจากการใช้งานเส้นเอ็นบริเวณไหล่ซ้ำ ๆ หรือมีการใช้งานที่หนักเกินไป ไม่ว่าจะเป็น การยกของหนัก กระชาก หรือการออกกำลังกายที่ใช้ข้อไหล่มาก ๆ จนเกินขีดจำกัดของร่างกาย และเส้นเอ็นที่อักเสบได้บ่อยจะมี 2 เส้นหลัก ๆ คือเส้นเอ็นด้านหน้า และเส้นเอ็นด้านหลังของหัวไหล่ การยืดเหยียดบริเวณเส้นเอ็นหัวไหล่ช่วยให้รักษาสมดุลร่างกาย และลดอาการบาดเจ็บจากการเล่นเวตเทรนนิงได้ ผู้ที่มีปัญหาควรปรึกษาแพทย์และนักกายภาพบำบัดเพื่อรับคำแนะนำในการเริ่มต้นและวางโปรแกรมเวตเทรนนิงที่ถูกต้องเหมาะสม ติดตามความรู้จาก กภ.เดชวิน หลายศิริเรืองไร คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล

  • CHECK-UP สุขภาพ : เช็กอาการนอนไม่หลับในวัยทอง
วัยทอง นอกจากระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนจะลดลงแล้ว ระดับฮอร์โมนเซโรโทนินในสมองก็ลดลง ส่งผลต่อคุณภาพของการนอนหลับ ดังนั้นการรักษาภาวะนอนไม่หลับของผู้หญิงวัยทองต้องมีการรักษาควบคู่กับการเพิ่มระดับเซโรโทนินในสมอง พร้อมกับการปรับพฤติกรรมถึงจะเป็นการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ดีกว่าการกินเพียงยานอนหลับ มาตรวจเช็กกันว่าตอนนี้เรามีปัญหาการนอนหลับเหล่านี้หรือยัง และเราจะแก้ไขการนอนไม่หลับได้อย่างไรบ้าง เพื่อการนอนอย่างมีคุณภาพและคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนป้องกันโรคอื่น ๆ แทรกซ้อนตามมา ติดตามความรู้จาก พญ.กตัญญุตา นาคปลัด สูตินรีแพทย์ด้านเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์


ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันพุธที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี

23 ส.ค. 66
  • รู้สู้โรค : ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี

ขมิ้นชัน มีสารเคอร์คูมินอยด์ (Curcuminoid) พบได้ในพืชมีเหง้าและพืชวงศ์ขิง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดอาการอักเสบ และลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด ทำให้มีการนำขมิ้นชันมาประยุกต์ใช้ในอาหารและยาอย่างแพร่หลาย รสชาติของขมิ้นชันจะมี 2 รสชาติ ได้แก่รสเผ็ด ช่วยไล่ลมในท้องได้ แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และรสฝาดหรือจะเรียกกันว่ารสฝาดสมานแผล ช่วยลดอาการอักเสบ ซึ่งการรับประทานขมิ้นชันนั้นถ้าเรากินตามเวลาที่อวัยวะต่าง ๆ กำลังทำงานก็จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบในร่างกายทำงานได้ดียิ่งขึ้น แต่การรับประทานขมิ้นชันแคปซูลติดต่อกันนาน ๆ อาจทำให้ร่างกายมีสารตกค้างได้ ควรจำกัดในปริมาณที่เหมาะสม และหากจะกินเพื่อรักษาโรค ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเสมอ เนื่องจากสรรพคุณในขมิ้นชันมีผลกระทบข้างเคียงต่อผู้ป่วยบางกลุ่ม เช่น เด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้ที่เป็นท่อน้ำดีอุดตัน และนิ่วในถุงน้ำดี ติดตามความรู้จาก ณัฐพล วาสิกดิลก แพทย์แผนไทย

  • ปรับก่อนป่วย : เอ็นหัวไหล่อักเสบจากเวตเทรนนิง
อาการเอ็นหัวไหล่อักเสบเป็นภาวะที่เกิดจากการใช้งานเส้นเอ็นบริเวณไหล่ซ้ำ ๆ หรือมีการใช้งานที่หนักเกินไป ไม่ว่าจะเป็น การยกของหนัก กระชาก หรือการออกกำลังกายที่ใช้ข้อไหล่มาก ๆ จนเกินขีดจำกัดของร่างกาย และเส้นเอ็นที่อักเสบได้บ่อยจะมี 2 เส้นหลัก ๆ คือเส้นเอ็นด้านหน้า และเส้นเอ็นด้านหลังของหัวไหล่ การยืดเหยียดบริเวณเส้นเอ็นหัวไหล่ช่วยให้รักษาสมดุลร่างกาย และลดอาการบาดเจ็บจากการเล่นเวตเทรนนิงได้ ผู้ที่มีปัญหาควรปรึกษาแพทย์และนักกายภาพบำบัดเพื่อรับคำแนะนำในการเริ่มต้นและวางโปรแกรมเวตเทรนนิงที่ถูกต้องเหมาะสม ติดตามความรู้จาก กภ.เดชวิน หลายศิริเรืองไร คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล

  • CHECK-UP สุขภาพ : เช็กอาการนอนไม่หลับในวัยทอง
วัยทอง นอกจากระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนจะลดลงแล้ว ระดับฮอร์โมนเซโรโทนินในสมองก็ลดลง ส่งผลต่อคุณภาพของการนอนหลับ ดังนั้นการรักษาภาวะนอนไม่หลับของผู้หญิงวัยทองต้องมีการรักษาควบคู่กับการเพิ่มระดับเซโรโทนินในสมอง พร้อมกับการปรับพฤติกรรมถึงจะเป็นการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ดีกว่าการกินเพียงยานอนหลับ มาตรวจเช็กกันว่าตอนนี้เรามีปัญหาการนอนหลับเหล่านี้หรือยัง และเราจะแก้ไขการนอนไม่หลับได้อย่างไรบ้าง เพื่อการนอนอย่างมีคุณภาพและคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนป้องกันโรคอื่น ๆ แทรกซ้อนตามมา ติดตามความรู้จาก พญ.กตัญญุตา นาคปลัด สูตินรีแพทย์ด้านเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์


ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันพุธที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

คนสู้โรค

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - 420
421 - 450
451 - 480
481 - 510
511 - 540
541 - 570
571 - 600
601 - 630
631 - 660
661 - 690
691 - 720
721 - 750
751 - 780
781 - 810
811 - 840
841 - 870
871 - 900
901 - 930
931 - 960
961 - 990
991 - 1,020
1,021 - 1,050
1,051 - 1,080
1,081 - 1,110
1,111 - 1,140
1,141 - 1,170
1,171 - 1,200
1,201 - 1,230
1,231 - 1,260
1,261 - 1,290
1,291 - 1,320
1,321 - 1,350
1,351 - 1,380
1,381 - 1,410
1,411 - 1,440
1,441 - 1,470
1,471 - 1,500
1,501 - 1,530
1,531 - 1,560
1,561 - 1,590
1,591 - 1,620
1,621 - ล่าสุด
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
20 ก.ค. 66
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
21 ก.ค. 66
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
24 ก.ค. 66
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
25 ก.ค. 66
สมุนไพรต้านมะเร็ง
สมุนไพรต้านมะเร็ง
26 ก.ค. 66
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
27 ก.ค. 66
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
31 ก.ค. 66
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
3 ส.ค. 66
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
4 ส.ค. 66
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
7 ส.ค. 66
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
8 ส.ค. 66
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
9 ส.ค. 66
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
10 ส.ค. 66
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
11 ส.ค. 66
การปรับยาซึมเศร้า
การปรับยาซึมเศร้า
15 ส.ค. 66
โรคมดลูกหย่อน
โรคมดลูกหย่อน
16 ส.ค. 66
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
17 ส.ค. 66
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
18 ส.ค. 66
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
21 ส.ค. 66
กำลังเล่น...
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
23 ส.ค. 66
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
24 ส.ค. 66
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
25 ส.ค. 66
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
28 ส.ค. 66
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
29 ส.ค. 66
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
30 ส.ค. 66
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
31 ส.ค. 66
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
1 ก.ย. 66
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
4 ก.ย. 66
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
5 ก.ย. 66
รักษาอาการนอนไม่หลับด้วยแพทย์องค์รวม
รักษาอาการนอนไม่หลับด้วยแพทย์องค์รวม
6 ก.ย. 66

คนสู้โรค

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - 420
421 - 450
451 - 480
481 - 510
511 - 540
541 - 570
571 - 600
601 - 630
631 - 660
661 - 690
691 - 720
721 - 750
751 - 780
781 - 810
811 - 840
841 - 870
871 - 900
901 - 930
931 - 960
961 - 990
991 - 1,020
1,021 - 1,050
1,051 - 1,080
1,081 - 1,110
1,111 - 1,140
1,141 - 1,170
1,171 - 1,200
1,201 - 1,230
1,231 - 1,260
1,261 - 1,290
1,291 - 1,320
1,321 - 1,350
1,351 - 1,380
1,381 - 1,410
1,411 - 1,440
1,441 - 1,470
1,471 - 1,500
1,501 - 1,530
1,531 - 1,560
1,561 - 1,590
1,591 - 1,620
1,621 - ล่าสุด
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
20 ก.ค. 66
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
21 ก.ค. 66
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
24 ก.ค. 66
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
25 ก.ค. 66
สมุนไพรต้านมะเร็ง
สมุนไพรต้านมะเร็ง
26 ก.ค. 66
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
27 ก.ค. 66
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
31 ก.ค. 66
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
3 ส.ค. 66
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
4 ส.ค. 66
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
7 ส.ค. 66
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
8 ส.ค. 66
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
9 ส.ค. 66
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
10 ส.ค. 66
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
11 ส.ค. 66
การปรับยาซึมเศร้า
การปรับยาซึมเศร้า
15 ส.ค. 66
โรคมดลูกหย่อน
โรคมดลูกหย่อน
16 ส.ค. 66
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
17 ส.ค. 66
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
18 ส.ค. 66
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
21 ส.ค. 66
กำลังเล่น...
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
23 ส.ค. 66
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
24 ส.ค. 66
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
25 ส.ค. 66
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
28 ส.ค. 66
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
29 ส.ค. 66
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
30 ส.ค. 66
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
31 ส.ค. 66
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
1 ก.ย. 66
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
4 ก.ย. 66
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
5 ก.ย. 66
รักษาอาการนอนไม่หลับด้วยแพทย์องค์รวม
รักษาอาการนอนไม่หลับด้วยแพทย์องค์รวม
6 ก.ย. 66

ละครย้อนยุค

ดูทั้งหมด

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย