ภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองตีบ คือปัญหาเกี่ยวการเคลื่อนไหว สูญเสียการทำงานของกล้ามเนื้อส่งผลให้ไม่สามารถควบคุมร่างกายให้ทำงานได้อย่างปกติ โดยนักกายภาพบำบัดจะฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโดยการฝึกการเคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกายบริเวณที่มีการที่อ่อนแรง เพื่อฟื้นฟูเสริมสร้างทักษะที่สูญเสียไป ติดตามสาระความรู้กับ ผศ. ดร. กภ.มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
เรียนรู้การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ที่วิสาหกิจชุมชนเชิงเกษตร ต.ท่าหลวง อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา พร้อมนำผลผลิตที่ได้มารังสรรค์เมนู น้ำพริกเห็ด และลาบเห็ด ติดตามต่อกับ อดิศักดิ์ เข็มสุวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร (เกษตรตำบลท่าหลวง) สำนักงานเกษตรอำเภอท่าเรือ และ สมใจ สุทธิดี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
การฝึกโยคะ สามารถควบคุมฮอร์โมนผ่านท่าทางและการเคลื่อนไหวและกระตุ้นระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งมีหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Endocrine System) การกระตุ้นนี้สามารถเพิ่มการผลิตฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (testosterone) โกรทฮอร์โมน (growth hormone) และลดการผลิตฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) และอะดรีนาลีน (Adrenaline) ติดตามสาระความรู้ต่อกับ ธิวาภรณ์ สังขพงศ์ ผู้ฝึกสอนโยคะ
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 07.30 – 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
ภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองตีบ คือปัญหาเกี่ยวการเคลื่อนไหว สูญเสียการทำงานของกล้ามเนื้อส่งผลให้ไม่สามารถควบคุมร่างกายให้ทำงานได้อย่างปกติ โดยนักกายภาพบำบัดจะฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโดยการฝึกการเคลื่อนไหวร่างกาย การออกกำลังกายบริเวณที่มีการที่อ่อนแรง เพื่อฟื้นฟูเสริมสร้างทักษะที่สูญเสียไป ติดตามสาระความรู้กับ ผศ. ดร. กภ.มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
เรียนรู้การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ที่วิสาหกิจชุมชนเชิงเกษตร ต.ท่าหลวง อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา พร้อมนำผลผลิตที่ได้มารังสรรค์เมนู น้ำพริกเห็ด และลาบเห็ด ติดตามต่อกับ อดิศักดิ์ เข็มสุวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร (เกษตรตำบลท่าหลวง) สำนักงานเกษตรอำเภอท่าเรือ และ สมใจ สุทธิดี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
การฝึกโยคะ สามารถควบคุมฮอร์โมนผ่านท่าทางและการเคลื่อนไหวและกระตุ้นระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งมีหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Endocrine System) การกระตุ้นนี้สามารถเพิ่มการผลิตฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (testosterone) โกรทฮอร์โมน (growth hormone) และลดการผลิตฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol) และอะดรีนาลีน (Adrenaline) ติดตามสาระความรู้ต่อกับ ธิวาภรณ์ สังขพงศ์ ผู้ฝึกสอนโยคะ
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2567 เวลา 07.30 – 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live