ปรากฏการณ์น้ำโขงแห้ง สีใส ไร้ตะกอน เกิดขึ้นอีกครั้งในช่วงกลางเดือนมกราคม 2565 ที่ผ่านมา ซึ่งครั้งนี้ในภาคอีสาน 7 จังหวัดริมโขง พบว่ามี “ไก” หรือ “เทา” สาหร่ายน้ำจืดสีเขียวเกิดขึ้นจำนวนมาก และส่งผลกระทบต่อวิถีคนหาปลา ทำให้เครื่องมือประมงเสียหาย หาปลาไม่ได้ แล้วเรื่องนี้กำลังส่งสัญญาณอะไร
คุณเล่าเราขยาย ชวนติดตามจับสัญญาณ “ไก” เกลื่อนโขง และผลกระทบจากน้ำขึ้น-ลงที่ยากจะคาดเดา
ร่วมแลกเปลี่ยนกับ คุณอ้อมบุญ ทิพย์สุนา เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนลุ่มน้ำโขง 7 จังหวัดภาคอีสาน (คสข.) และ ดร.ชวลิต วิทยานนท์ นักวิชาการอิสระด้านความหลากหลายทางชีวภาพ พร้อมเรื่องราว “คนเล่นคำ” ในพื้นที่ จ.หนองคาย และวิถีคนหาไกจากภาคเหนือ จ.เชียงราย และช่วงอวดดีกับ Gen C reporter ห้องเรียนปลูกผักโรงเรียนเมืองคง (คงคาวิทยา) จ.ศรีสะเกษ
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
ปรากฏการณ์น้ำโขงแห้ง สีใส ไร้ตะกอน เกิดขึ้นอีกครั้งในช่วงกลางเดือนมกราคม 2565 ที่ผ่านมา ซึ่งครั้งนี้ในภาคอีสาน 7 จังหวัดริมโขง พบว่ามี “ไก” หรือ “เทา” สาหร่ายน้ำจืดสีเขียวเกิดขึ้นจำนวนมาก และส่งผลกระทบต่อวิถีคนหาปลา ทำให้เครื่องมือประมงเสียหาย หาปลาไม่ได้ แล้วเรื่องนี้กำลังส่งสัญญาณอะไร
คุณเล่าเราขยาย ชวนติดตามจับสัญญาณ “ไก” เกลื่อนโขง และผลกระทบจากน้ำขึ้น-ลงที่ยากจะคาดเดา
ร่วมแลกเปลี่ยนกับ คุณอ้อมบุญ ทิพย์สุนา เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนลุ่มน้ำโขง 7 จังหวัดภาคอีสาน (คสข.) และ ดร.ชวลิต วิทยานนท์ นักวิชาการอิสระด้านความหลากหลายทางชีวภาพ พร้อมเรื่องราว “คนเล่นคำ” ในพื้นที่ จ.หนองคาย และวิถีคนหาไกจากภาคเหนือ จ.เชียงราย และช่วงอวดดีกับ Gen C reporter ห้องเรียนปลูกผักโรงเรียนเมืองคง (คงคาวิทยา) จ.ศรีสะเกษ
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.30 - 14.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live