บ้าน ที่อยู่อาศัย เป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีพและเป็นโจทย์ใหญ่ของหลายคนที่กำลังมองหาความมั่นคงของชีวิต ซึ่งเป็นข้อท้ายอย่างมากในยุคที่ค่าครองชีพสูงสวนทางกับรายได้ อย่างช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาหลังรัฐบาลได้มีโครงการ "บ้านเพื่อคนไทย" พบว่ามีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการกว่า 270,000 คน นั่นแสดงให้เห็นว่า "บ้าน" ต่างก็เป็นความฝันหนึ่งของพวกเขา ชวนขยายเรื่องบ้านของคนไทย ในสถานการณ์ที่หลายคนบ่นกันว่าเศรษฐกิจไม่ดี และที่ดินราคาแพงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อยบนที่ดินของการรถไฟ
แต่ก่อนจะไปถึงตรงนั้นชวนติดตามสถานการณ์ความเคลื่อนไหวของภาคพลเมืองที่รายงานสถานการณ์มากับ Csite พิกัดนี้คุณขวัญชิต โพธิ์กระสังข์ ชวนดูภาพการท่องเที่ยวในวันหยุดแบบครอบครัวจากเขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี และไปติดตามการเรียนรู้วิถีชุมชนของน้อง ๆ นักข่าวพลเมืองภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปักหมุดเล่าว่า เมื่อวันที่ 21 - 23 ก.พ. ที่ผ่านมา ได้ลงพื้นที่เรียนรู้และผลิตสื่อด้วยมือถือเพื่อบอกเล่าวิถีชุมชน ณ อ.ปทุมรัตต์ จ.ร้อยเอ็ด พื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิแหล่งสำคัญของภาคอีสาน
จากนั้นติดตามอีกเรื่องใหญ่ที่ชวนขยายกับสถานการณ์เรื่องที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะชุมชนผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาระบบรางในที่ดินการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่งข้อมูลสำรวจเมื่อเดือนมกราคม 2566 พบว่ารวมทุกภูมิภาคมีคนได้รับผลกระทบมากกว่า 27,000 หลังคาเรือน ซึ่งเมื่อวันที่ 18 - 20 ก.พ. ที่ผ่านมา "ขบวนคนจนเมืองเพื่อสิทธิที่อยู่อาศัย" จากทั่วประเทศ ที่รวมตัวกันหน้ากระทรวงคมนาคม กรุงเทพมหานครฯ กับข้อเรียกร้องเพื่อจัดการที่อยู่อาศัยในที่ดินรถไฟเร่งด่วน เพราะผ่านมา 3 ปี จากเป้าหมายดำเนินการเช่า 300 ชุมชน ทำสำเร็จแค่ 14 ชุมชน
จากนั้นชวนขยายมุมมองที่เราจะแก้โจทย์นี้เพื่อเพิ่มความมั่นคงเรื่องที่อยู่อาศัยที่กว้างขวางขึ้นได้ยังไง กับ ผศ. ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านคนจนเมืองและคนไร้บ้าน
ติดตามได้ในรายการคุณเล่าเราขยาย ตอน โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 17.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.