ชวนดูข้อมูลจาก App C-site จะเห็นสถานการณ์ที่มีการสื่อสาร จากประชาชนเข้ามาในประเด็นฝุ่นควัน ที่สื่อสารเข้ามาต่อเนื่องในช่วงเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ 2567 กว่า 30 เรื่อง กระจายตัวกันทั้ง ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคเหนือ
จากข้อมูลในปัจจุบันดูเหมือนว่าเราจะรู้แพทเทิร์นฤดูฝุ่น ที่มีข้อมูลอ้างอิงด้านวิชาการแทบจะครอบคลุมทั้งหมด ที่สามารถบอกเราได้ว่าแต่ละพื้นที่ฝุ่นควันที่เกิดขึ้นจากสาเหตุและมีแหล่งที่มาแบบใด ซึ่งต้นตอของฝุ่นที่ กว่า 50 % มาจากการเผา โดยเฉพาะภาคการเกษตร และจากไฟป่า และปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถคาดการณ์ความรุนแรงของฝุ่นไฟในพื้นที่ได้
จากปัญหาเราเห็นพัฒนาการของความพยายามหลายฝ่ายพยายามหาวิธีการหรือมาตรการใหม่ ๆ ในการออกจากปัญหา ปี 67 มาตรการการบริหารจัดการเชื้อเพลิง การสนับสนุนผลผลิตไม่เผา คำถามคือ ทำอย่างไรจะให้วิธีการเหล่านี้มีเเรงจูงใจและมีความต่อเนื่อง ทั้งภาคชุมชนในป่า และภาคเกษตร ชวนมองไปข้างหน้า ในระดับนโยบาย ใครควรทำอะไร ? ชวนคุยกับ รศ.ดร.สุดสวาสดิ์ ดวงศรีไสย์ รองผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และคุณอาคม สุวรรณกันธา ฝ่ายประสานงานแก้ปัญหาฝุ่นควันข้ามแดน สภาลมหายใจภาคเหนือ
ติดตามได้ในรายการ "คุณเล่า เราขยาย" วันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม
คุณเล่า เราขยาย
ลุ่มน้ำอีสานกับวิถีบ้านเฮา
ชายแดนที่เปลี่ยนไปกับสายน้ำโขงที่เปลี่ยนแปลง
แลนด์บริดจ์ (แลก) แลนด์เรียน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญเพื่อประชาชน
ก้าวต่อไป "จักรวาลสื่อสาธารณะไทย"
เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับอาหารท้องถิ่น
ฟังเสียงชายแดนใต้ กับอนาคตจัดการภัยพิบัติ
"ผังเมือง" เรื่องของใคร?
4 ปี พ.ร.บ.ป่าชุมชน ก้าวต่ออย่างไร
พื้นที่ชุ่มน้ำ ความงาม ชีวิต
ก้าวต่อไป พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ฉบับแรกของไทย
PRTR หมดเวลาปกปิดมลพิษ
ลมหายใจเดียวกัน บ้านฉันบ้านเธอ
ก้าวต่อ ฟื้นฟูกู้ชีวิตเหมืองแร่ทองคำเมืองเลย
พื้นที่สาธารณะ ที่คนท้องถิ่นจะเข้าถึงได้
วันช้างไทย - ชุมชนกับการแก้โจทย์คนกับช้าง
ฝุ่นไร้พรมแดน
เกษตรอีสานรับมือโลกรวน
ความฝัน ความหวังและอนาคตชายแดนใต้
ลมหายใจข้ามแดน
หมอลำซัมเมอร์ แรงงานสร้างสรรค์กลางกระแสซอฟต์พาวเวอร์
"อีเลิ้ง" ชุมชนออกแบบได้
เวียงหนองหล่ม ตำนานมีชีวิต
ท่องเที่ยวชุมชนอีสาน โอกาสคนท้องถิ่น
"นักรบผ้าถุง" กับงานวิจัยไทบ้านเพื่อชุมชน
บทเรียนหนองพะวา กากอุตสาหกรรมที่ต้องถูกจัดการ
"พันธุ์ข้าว" กับทางรอดของชาวนา
อีสานสร้างสรรค์ PROUD OF ISAN
เดินหน้าเขตคุ้มครองวิถีชีวิตชาวเลเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าเดิม
แผน PDP 2024 ที่ประชาชนขอมีส่วนร่วม