แรงงานชาวเมียนมา ที่เดินทางเข้ามาทำงานในประเทศไทย มีหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์พม่า กะเหรี่ยง มอญ และไทใหญ่ ในยุคแรกแรงงานเหล่านี้อยู่สังกัดมูลนาย ต่อมาเมื่อเข้าสู่ยุคอาณานิคม ซึ่งถือเป็นยุคที่เศรษฐกิจเชื่อมโยงประเทศต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ส่งผลให้เกิดแรงงานชาวเมียนมาที่เข้ามาทำงานในฐานะแรงงานที่มีการศึกษา
ปัจจุบันหลังจากที่มีการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ประเทศเมียนมา มีการเปิดประเทศและเข้าสู่ความเป็นประชาธิปไตย ส่งผลให้คนเมียนมาเดินทางเข้ามาที่ประเทศไทยอย่างล้นหลาม จนเกิดชุมชนการค้าของชาวเมียนมาอย่าง “ลิตเติลเมียนมา”
ติดตามชมได้ในรายการ จากรากสู่เรา ตอน ลิตเติลเมียนมา : แรงงาน ตลาด และประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม 2565 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แรงงานชาวเมียนมา ที่เดินทางเข้ามาทำงานในประเทศไทย มีหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์พม่า กะเหรี่ยง มอญ และไทใหญ่ ในยุคแรกแรงงานเหล่านี้อยู่สังกัดมูลนาย ต่อมาเมื่อเข้าสู่ยุคอาณานิคม ซึ่งถือเป็นยุคที่เศรษฐกิจเชื่อมโยงประเทศต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ส่งผลให้เกิดแรงงานชาวเมียนมาที่เข้ามาทำงานในฐานะแรงงานที่มีการศึกษา
ปัจจุบันหลังจากที่มีการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ประเทศเมียนมา มีการเปิดประเทศและเข้าสู่ความเป็นประชาธิปไตย ส่งผลให้คนเมียนมาเดินทางเข้ามาที่ประเทศไทยอย่างล้นหลาม จนเกิดชุมชนการค้าของชาวเมียนมาอย่าง “ลิตเติลเมียนมา”
ติดตามชมได้ในรายการ จากรากสู่เรา ตอน ลิตเติลเมียนมา : แรงงาน ตลาด และประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม 2565 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live