***ละคร โหมโรง มีการจำกัดระยะเวลาที่ให้บริการรับชมบนออนไลน์ เนื่องด้วยเงื่อนไขด้านลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่ ท่านสามารถรับชมละคร โหมโรง ตอนจบ ดนตรีไทย ได้อีกครั้งหลังออกอากาศ ตั้งแต่วันที่ 22 พ.ค. 64 - 4 มี.ค. 65 เท่านั้น***
รำพึงเอากล่องดนตรีไปคืนเจ้าของ ซึ่งเป็นครูสอนดนตรีเปียโนที่เธอแอบชอบ แต่รำพึงกลับรู้ความจริงว่าคนที่เธอแอบชอบนั้นกำลังจะแต่งงาน เธอเสียใจมาก ทำกล่องดนตรีตกและพัง เทิดเจอเข้าและรู้ความจริงว่ารำพึงกำลังเสียใจและกำลังมีความทุกข์ เทิดพูดปลอบ ให้รำพึงรู้สึกดี วีระรู้ตัวว่าเทิดเป็นคนชกหน้าวุฒิ และพบว่าเทิดอยู่บ้านท่านครูจึงเข้ามาพบ และปะทะคารมกับท่านครู ทำให้วีระรู้ว่า แท้จริงแล้วดนตรีไทยคือจิตวิญญาณของความเป็นไทยที่เราไม่ควรละเลย
ติดตามได้ในละคร "โหมโรง" วันเสาร์ที่ 22 พฤษภาคม 2564 เวลา 20.15 - 21.10 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ได้ทาง www.thaipbs.or.th/Live
หมายเหตุ : บทประพันธ์ โดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์, ด้วยแรงบันดาลใจจากชีวิตของ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)
ละคร โหมโรง
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ช่วงวัยและอายุกับการเริ่มเล่นดนตรีไทย
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การไหว้ครูสำคัญอย่างไรต่อการเล่นดนตรีไทย
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : จุดเริ่มต้นการเล่นดนตรี
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : สลับตัวผู้ประชันก่อนการแข่งขัน ผิดกติกาหรือไม่
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : จิตใจและอารมณ์ส่งผลต่อการเล่นดนตรี
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : เทคนิคตีระนาดของขุนอินและนายศร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การบันทึกเสียงดนตรีมีความสำคัญอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : วิธีเตรียมตัวเข้าแข่งขันดนตรีไทย
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : แรงขับเคลื่อนสำคัญสำหรับคนเริ่มเล่นดนตรี
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ผืนระนาดจำปาแตกต่างจากผืนระนาดแบบอื่นอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การรับบทขุนอินต้องใช้ทักษะการตีระนาดแบบไหน
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลกับดนตรีไทยอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ดนตรีให้อะไรกับชีวิต
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : บทบาทของดนตรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : อาชีพด้านความบันเทิงในสมัยก่อน
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การเล่นดนตรีไทยในวงลิเกมีลักษณะอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การเล่นดนตรีไทยในอดีตและปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
ละคร โหมโรง
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ช่วงวัยและอายุกับการเริ่มเล่นดนตรีไทย
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การไหว้ครูสำคัญอย่างไรต่อการเล่นดนตรีไทย
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : จุดเริ่มต้นการเล่นดนตรี
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : สลับตัวผู้ประชันก่อนการแข่งขัน ผิดกติกาหรือไม่
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : จิตใจและอารมณ์ส่งผลต่อการเล่นดนตรี
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : เทคนิคตีระนาดของขุนอินและนายศร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การบันทึกเสียงดนตรีมีความสำคัญอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : วิธีเตรียมตัวเข้าแข่งขันดนตรีไทย
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : แรงขับเคลื่อนสำคัญสำหรับคนเริ่มเล่นดนตรี
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ผืนระนาดจำปาแตกต่างจากผืนระนาดแบบอื่นอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การรับบทขุนอินต้องใช้ทักษะการตีระนาดแบบไหน
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลกับดนตรีไทยอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : ดนตรีให้อะไรกับชีวิต
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : บทบาทของดนตรีไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : อาชีพด้านความบันเทิงในสมัยก่อน
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การเล่นดนตรีไทยในวงลิเกมีลักษณะอย่างไร
เสียงสะท้อนจากโหมโรง : การเล่นดนตรีไทยในอดีตและปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร