“น้ำท่วมซ้ำซากมีทางออกหรือไม่ในวันที่โลกร้อน” เป็นคำถามที่หลายคนเริ่มให้ความสนใจ เพราะน้ำท่วมปีนี้ มีการประเมินความเสียหายจากน้ำท่วมมูลค่าไม่ต่ำกว่า 3 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็น 0.16% ของจีดีพี ระยะข้างหน้า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่แปรปรวน ทำให้ภัยพิบัติมีความเสี่ยงที่จะเกิดถี่และรุนแรงขึ้นอีก และจะส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นหากไม่มีการวางแผนรับมือที่ดีพอ แล้วหน่วยงานภาครัฐของเรา มีแผนรับมืออย่างไรกันบ้าง แผนงานที่วางไว้จะสามารถรับมือกับปัญหาที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นได้ไหม ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน จะชวนคุยเรื่องนี้กับ คุณขวัญพัฒน์์ สุทธิธรรมกิจ เจ้าหน้าที่อาวุโสธนาคารโลก ผู้รับผิดชอบประเทศไทย
ติดตามชมช่วงเศรษฐกิจติดบ้าน ได้ในรายการวันใหม่วาไรตี้ วันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 8.00 - 10.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ www.thaipbs.or.th/Live
“น้ำท่วมซ้ำซากมีทางออกหรือไม่ในวันที่โลกร้อน” เป็นคำถามที่หลายคนเริ่มให้ความสนใจ เพราะน้ำท่วมปีนี้ มีการประเมินความเสียหายจากน้ำท่วมมูลค่าไม่ต่ำกว่า 3 หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็น 0.16% ของจีดีพี ระยะข้างหน้า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่แปรปรวน ทำให้ภัยพิบัติมีความเสี่ยงที่จะเกิดถี่และรุนแรงขึ้นอีก และจะส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นหากไม่มีการวางแผนรับมือที่ดีพอ แล้วหน่วยงานภาครัฐของเรา มีแผนรับมืออย่างไรกันบ้าง แผนงานที่วางไว้จะสามารถรับมือกับปัญหาที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นได้ไหม ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน จะชวนคุยเรื่องนี้กับ คุณขวัญพัฒน์์ สุทธิธรรมกิจ เจ้าหน้าที่อาวุโสธนาคารโลก ผู้รับผิดชอบประเทศไทย
ติดตามชมช่วงเศรษฐกิจติดบ้าน ได้ในรายการวันใหม่วาไรตี้ วันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 8.00 - 10.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ www.thaipbs.or.th/Live