ต้นปี 2567 กระทรวงแรงงาน โดยคณะกรรมการค่าจ้าง ประกาศปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป โดยในแต่ละพื้นที่ของประเทศ มีอัตราการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยของแต่ละจังหวัด แต่จากคำประกาศกร้าวของรัฐบาลที่จะขึ้นค่าแรงขึ้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ ทำให้เกิดกระแสการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักในเรื่องของความเหมาะสม และข้อห่วงใยที่อาจส่งผลให้เจ้าของธุรกิจอาจเลือกการปลดแรงงานบางส่วนเพื่อลดต้นทุน โดยเพิ่มเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ ซึ่งจะทำให้คนกลุ่มนี้หลุดออกจากระบบแรงงาน วันนี้ ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน จะมาขยายความให้ฟังว่า ขึ้นค่าแรง 400 แก้ปัญหาปากท้องได้จริงหรือ ?
ติดตามชมช่วงเศรษฐกิจติดบ้าน ได้ในรายการวันใหม่วาไรตี้ วันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 8.00 - 10.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ www.thaipbs.or.th/Live
ต้นปี 2567 กระทรวงแรงงาน โดยคณะกรรมการค่าจ้าง ประกาศปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป โดยในแต่ละพื้นที่ของประเทศ มีอัตราการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยของแต่ละจังหวัด แต่จากคำประกาศกร้าวของรัฐบาลที่จะขึ้นค่าแรงขึ้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ ทำให้เกิดกระแสการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักในเรื่องของความเหมาะสม และข้อห่วงใยที่อาจส่งผลให้เจ้าของธุรกิจอาจเลือกการปลดแรงงานบางส่วนเพื่อลดต้นทุน โดยเพิ่มเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ ซึ่งจะทำให้คนกลุ่มนี้หลุดออกจากระบบแรงงาน วันนี้ ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน จะมาขยายความให้ฟังว่า ขึ้นค่าแรง 400 แก้ปัญหาปากท้องได้จริงหรือ ?
ติดตามชมช่วงเศรษฐกิจติดบ้าน ได้ในรายการวันใหม่วาไรตี้ วันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 8.00 - 10.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ www.thaipbs.or.th/Live