เป็นที่รู้กันว่าสุนทรภู่นั้น เชี่ยวชาญการแต่งโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน เป็นอันมาก แต่ถึงอย่างนั้น ก็ยังไม่วายถูกดูหมิ่นดูแคลนจนได้ ครั้งหนึ่ง สุนทรภู่ถูกคนหนุ่มดูแคลนเอาว่า เขียนได้แต่เพียงกลอน คงแต่งอย่างอื่นไม่ได้กระมัง กวีเอกอย่างสุนทรภู่มีหรือจะยอม จึงตอกกลับไปด้วยโคลงสี่สุภาพ ที่ไม่ใช่โคลงธรรมดา แต่เป็นคำผวนทั้งหมด หน้าตาเป็นแบบนี้ค่ะ
“เฉน็งไอมาเวิ่งเว้า วู่กา
รูกับกาวเมิงแต่ยา มู่ไร้
ปิดเซ็นจะมู่ซา เคราทู่
เฉะแต่จะตอบให้ ชีพม้วยมังรณอ”
แปลได้ความดังนี้
“เฉน็งไอมาเวิ่งเว้า วู่กา (ไฉนเอ็งมาเว่าเวิ้ง ว่ากู)
รูกับกาวเมิงแต่ยา มู่ไร้ (ราวกับกูมาเแต่เยิง ไม่รู้)
ปิดเซ็นจะมู่ซา เคราทู่ (เป็นศิษย์จะมาสู้ ครูเฒ่า)
เฉะแต่จะตอบให้ ชีพม้วยมังรณอ” (ชอบแต่จะเตะให้ ชีพม้วยมรณัง)
เป็นที่รู้กันว่าสุนทรภู่นั้น เชี่ยวชาญการแต่งโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน เป็นอันมาก แต่ถึงอย่างนั้น ก็ยังไม่วายถูกดูหมิ่นดูแคลนจนได้ ครั้งหนึ่ง สุนทรภู่ถูกคนหนุ่มดูแคลนเอาว่า เขียนได้แต่เพียงกลอน คงแต่งอย่างอื่นไม่ได้กระมัง กวีเอกอย่างสุนทรภู่มีหรือจะยอม จึงตอกกลับไปด้วยโคลงสี่สุภาพ ที่ไม่ใช่โคลงธรรมดา แต่เป็นคำผวนทั้งหมด หน้าตาเป็นแบบนี้ค่ะ
“เฉน็งไอมาเวิ่งเว้า วู่กา
รูกับกาวเมิงแต่ยา มู่ไร้
ปิดเซ็นจะมู่ซา เคราทู่
เฉะแต่จะตอบให้ ชีพม้วยมังรณอ”
แปลได้ความดังนี้
“เฉน็งไอมาเวิ่งเว้า วู่กา (ไฉนเอ็งมาเว่าเวิ้ง ว่ากู)
รูกับกาวเมิงแต่ยา มู่ไร้ (ราวกับกูมาเแต่เยิง ไม่รู้)
ปิดเซ็นจะมู่ซา เคราทู่ (เป็นศิษย์จะมาสู้ ครูเฒ่า)
เฉะแต่จะตอบให้ ชีพม้วยมังรณอ” (ชอบแต่จะเตะให้ ชีพม้วยมรณัง)