คนสยาม หรือ คนไทยในปีนัง มีการอพยพรวมถึงย้ายเข้ามาตั้งรกรากอยู่หลายเวลา ตั้งแต่ช่วงก่อนเข้ามาของตะวันตกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การเข้ามายังปีนัง มีเหตุผลและที่มาแตกต่างกันออกไป ทั้งปัจจัยด้านเศรษฐกิจจนมาถึงปัจจัยเรื่องการเมือง
ปัจจุบันยังคงปรากฏร่องรอยของชาวสยาม หรือ คนไทยหลงเหลืออยู่บ้างจากคำบอกเล่า ไปสำรวจที่ตั้งของชุมชนไทยจากวัดในบริเวณถนนพม่า ก็ได้พบกับบ้านสังกะสีที่สร้างในแบบไทยรวมกลุ่มกันอยู่ในตรอกแคบหลังต้นโพธิ์ต้นใหญ่บริเวณนี้มีบ้านของคนไทยอยู่หลายหลังซึ่งทั้งหมดนี้เป็นที่ดินที่พระนางเจ้าวิคตอเรียมอบให้กับคนพม่าและคนไทยอยู่รวมกันบริเวณหลังวัด ซึ่งบ้านเหล่านี้ยังคงเป็นของกลุ่มคนไทยในปีนัง และไปพูดคุยกับคุณปู่วันดี อรุณรัตนะ คนไทยที่เกิดที่นี่ และยังคงอยู่เป็นหลักในกับชุมชนแห่งนี้
ติดตามชมรายการ AEC Business Class รู้ทันเออีซี ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 07.30 - 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
คนสยาม หรือ คนไทยในปีนัง มีการอพยพรวมถึงย้ายเข้ามาตั้งรกรากอยู่หลายเวลา ตั้งแต่ช่วงก่อนเข้ามาของตะวันตกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การเข้ามายังปีนัง มีเหตุผลและที่มาแตกต่างกันออกไป ทั้งปัจจัยด้านเศรษฐกิจจนมาถึงปัจจัยเรื่องการเมือง
ปัจจุบันยังคงปรากฏร่องรอยของชาวสยาม หรือ คนไทยหลงเหลืออยู่บ้างจากคำบอกเล่า ไปสำรวจที่ตั้งของชุมชนไทยจากวัดในบริเวณถนนพม่า ก็ได้พบกับบ้านสังกะสีที่สร้างในแบบไทยรวมกลุ่มกันอยู่ในตรอกแคบหลังต้นโพธิ์ต้นใหญ่บริเวณนี้มีบ้านของคนไทยอยู่หลายหลังซึ่งทั้งหมดนี้เป็นที่ดินที่พระนางเจ้าวิคตอเรียมอบให้กับคนพม่าและคนไทยอยู่รวมกันบริเวณหลังวัด ซึ่งบ้านเหล่านี้ยังคงเป็นของกลุ่มคนไทยในปีนัง และไปพูดคุยกับคุณปู่วันดี อรุณรัตนะ คนไทยที่เกิดที่นี่ และยังคงอยู่เป็นหลักในกับชุมชนแห่งนี้
ติดตามชมรายการ AEC Business Class รู้ทันเออีซี ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 07.30 - 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live