จากรากสู่เรา
จากรากสู่เรา

ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ

หน้ารายการ
5 ธ.ค. 65

ชุมชนประชานฤมิตร เป็นชุมชนดั้งเดิมของเขตบางซื่อ ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำเจ้าพระยา ในซอยประชานฤมิตร 24 ซึ่งเป็นซอยเชื่อมระหว่างถนนประชาราษฎร์สาย 1 กับถนนกรุงเทพฯ - นนทบุรี พื้นที่ของชุมชนมีสภาพดั้งเดิมเป็นสวน คนในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมและทำสวนผลไม้ เช่น สวนทุเรียน สวนมะม่วง และสวนขนุน เมื่อสภาพทางสังคมเปลี่ยนไปและความเจริญขยายเข้ามาอย่างรวดเร็ว มีคนต่างถิ่นอพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชนมากขึ้น สภาพสวนเปลี่ยนแปลงกลายเป็นเรือนแถวไม้ ตึกแถว และอาคารพาณิชย์ โดยผู้ที่ย้ายเข้ามาอยู่ใหม่ ส่วนใหญ่เป็นช่างไม้ชาวจีนไหหลำที่ชักชวนกันมาอยู่เป็นกลุ่ม ทั้งในซอยนฤมิตรและในซอยไสวสุวรรณ โดยเป็นชาวจีนที่ประกอบอาชีพแกะสลักไม้และทำเฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ และทำให้คนในชุมชนดั้งเดิมเปลี่ยนมาทำการค้าประเภทไม้แกะสลักเฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ไม้ตกแต่งสำเร็จรูปมากขึ้น

โรงเลื่อยที่มาตั้งกิจการอยู่ในย่านบางโพนี้ จะตั้งเรียงรายอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่บริเวณบางกระบือ บางโพ ไปจนเกือบถึงสะพานพระราม 6 รวมถึงชุมชนบางอ้อที่อยู่อีกฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา โดยใช้แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางล่องซุงลงมาจากภาคเหนือ เจ้าของโรงเลื่อยเหล่านี้จะซื้อไม้ซุงจากแพซุงที่ล่องลงมาตามแม่น้ำ นำมาเลื่อยเป็นไม้แปรรูปจำหน่าย โรงเลื่อยไม้แต่ละโรงมีท่าขึ้นไม้ซุงของตนเอง และชาวญวนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ บางกลุ่มยึดอาชีพล่องแพซุงลงมาจากนครสวรรค์

นอกจากนี้ บางโพยังเป็นที่ตั้งของโรงงานผลิตอุตสาหกรรมภาคกลางขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) ซึ่งจำหน่ายไม้สักแปรรูป เฟอร์นิเจอร์ มีร้านค้าที่ผลิตหรือจำหน่ายไม้แปรรูปผลิตภัณฑ์ไม้ต่าง ๆ ยิ่งทำให้เกิดเป็นย่านค้าไม้ที่สำคัญของกรุงเทพฯ

ต่อมา ใน พ.ศ. 2532 รัฐบาลประกาศปิดป่า ห้ามตัดไม้ ทำให้เจ้าของโรงเลื่อยต้องซื้อไม้ซุงจากต่างประเทศ เช่น พม่า ลาว มาเลเซีย กัมพูชา การขนส่งซุงจากทางน้ำมาใช้รถบรรทุกแทน และมีการลดการผลิตลง โรงเลื่อยหลายแห่งปิดกิจการ เปลี่ยนไปจำหน่ายไม้อัด ไม้แปรรูป วัสดุทดแทนไม้

กระทั่ง พ.ศ. 2540 เกิดวิกฤตต้มยำกุ้ง ธุรกิจค้าไม้เริ่มชลอตัว และในปี พ.ศ. 2541 สำนักงานเขตบางซื่อ เห็นว่าชุมชนนี้มีความพิเศษในเรื่องของงานไม้ จึงเข้าส่งเสริมเศรษฐกิจท้องที่ให้เป็นที่รู้จักกว้างขวางมากขึ้น จึงเกิดเป็นโครงการ “ถนนสายไม้” และปัจจุบันได้มีการขยายเครือข่ายร่วมกับทางคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการพัฒนาชุมชน สืบทอดในสายงานของช่างไม้ไม่ให้สูญสลายไป

ติดตามชมได้ในรายการ จากรากสู่เรา ตอน ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม 2565 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ

5 ธ.ค. 65

ชุมชนประชานฤมิตร เป็นชุมชนดั้งเดิมของเขตบางซื่อ ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำเจ้าพระยา ในซอยประชานฤมิตร 24 ซึ่งเป็นซอยเชื่อมระหว่างถนนประชาราษฎร์สาย 1 กับถนนกรุงเทพฯ - นนทบุรี พื้นที่ของชุมชนมีสภาพดั้งเดิมเป็นสวน คนในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมและทำสวนผลไม้ เช่น สวนทุเรียน สวนมะม่วง และสวนขนุน เมื่อสภาพทางสังคมเปลี่ยนไปและความเจริญขยายเข้ามาอย่างรวดเร็ว มีคนต่างถิ่นอพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชนมากขึ้น สภาพสวนเปลี่ยนแปลงกลายเป็นเรือนแถวไม้ ตึกแถว และอาคารพาณิชย์ โดยผู้ที่ย้ายเข้ามาอยู่ใหม่ ส่วนใหญ่เป็นช่างไม้ชาวจีนไหหลำที่ชักชวนกันมาอยู่เป็นกลุ่ม ทั้งในซอยนฤมิตรและในซอยไสวสุวรรณ โดยเป็นชาวจีนที่ประกอบอาชีพแกะสลักไม้และทำเฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ และทำให้คนในชุมชนดั้งเดิมเปลี่ยนมาทำการค้าประเภทไม้แกะสลักเฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ไม้ตกแต่งสำเร็จรูปมากขึ้น

โรงเลื่อยที่มาตั้งกิจการอยู่ในย่านบางโพนี้ จะตั้งเรียงรายอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่บริเวณบางกระบือ บางโพ ไปจนเกือบถึงสะพานพระราม 6 รวมถึงชุมชนบางอ้อที่อยู่อีกฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา โดยใช้แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางล่องซุงลงมาจากภาคเหนือ เจ้าของโรงเลื่อยเหล่านี้จะซื้อไม้ซุงจากแพซุงที่ล่องลงมาตามแม่น้ำ นำมาเลื่อยเป็นไม้แปรรูปจำหน่าย โรงเลื่อยไม้แต่ละโรงมีท่าขึ้นไม้ซุงของตนเอง และชาวญวนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ บางกลุ่มยึดอาชีพล่องแพซุงลงมาจากนครสวรรค์

นอกจากนี้ บางโพยังเป็นที่ตั้งของโรงงานผลิตอุตสาหกรรมภาคกลางขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป.) ซึ่งจำหน่ายไม้สักแปรรูป เฟอร์นิเจอร์ มีร้านค้าที่ผลิตหรือจำหน่ายไม้แปรรูปผลิตภัณฑ์ไม้ต่าง ๆ ยิ่งทำให้เกิดเป็นย่านค้าไม้ที่สำคัญของกรุงเทพฯ

ต่อมา ใน พ.ศ. 2532 รัฐบาลประกาศปิดป่า ห้ามตัดไม้ ทำให้เจ้าของโรงเลื่อยต้องซื้อไม้ซุงจากต่างประเทศ เช่น พม่า ลาว มาเลเซีย กัมพูชา การขนส่งซุงจากทางน้ำมาใช้รถบรรทุกแทน และมีการลดการผลิตลง โรงเลื่อยหลายแห่งปิดกิจการ เปลี่ยนไปจำหน่ายไม้อัด ไม้แปรรูป วัสดุทดแทนไม้

กระทั่ง พ.ศ. 2540 เกิดวิกฤตต้มยำกุ้ง ธุรกิจค้าไม้เริ่มชลอตัว และในปี พ.ศ. 2541 สำนักงานเขตบางซื่อ เห็นว่าชุมชนนี้มีความพิเศษในเรื่องของงานไม้ จึงเข้าส่งเสริมเศรษฐกิจท้องที่ให้เป็นที่รู้จักกว้างขวางมากขึ้น จึงเกิดเป็นโครงการ “ถนนสายไม้” และปัจจุบันได้มีการขยายเครือข่ายร่วมกับทางคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการพัฒนาชุมชน สืบทอดในสายงานของช่างไม้ไม่ให้สูญสลายไป

ติดตามชมได้ในรายการ จากรากสู่เรา ตอน ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม 2565 เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

จากรากสู่เรา

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - ล่าสุด
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
24 ต.ค. 65
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
31 ต.ค. 65
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
7 พ.ย. 65
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
14 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
28 พ.ย. 65
กำลังเล่น...
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
5 ธ.ค. 65
ชุมชนมัสยิดยะวา
ชุมชนมัสยิดยะวา
12 ธ.ค. 65
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
19 ธ.ค. 65
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
26 ธ.ค. 65
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
13 ก.พ. 66
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
20 ก.พ. 66
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
27 ก.พ. 66
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
6 มี.ค. 66
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
13 มี.ค. 66
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
20 มี.ค. 66
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
27 มี.ค. 66
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
3 เม.ย. 66
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
10 เม.ย. 66
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
17 เม.ย. 66
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
17 เม.ย. 66
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
24 เม.ย. 66
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
1 พ.ค. 66
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
8 พ.ค. 66
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
22 พ.ค. 66
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
29 พ.ค. 66
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
5 มิ.ย. 66
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
12 มิ.ย. 66
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
19 มิ.ย. 66

จากรากสู่เรา

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - ล่าสุด
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
เจริญกรุง - ถนนตก : ชาวเดนมาร์ก และรถรางสายแรกของเอเชีย
24 ต.ค. 65
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
โต๊ะจีนกับวัฒนธรรมกินเลี้ยงของสังคมไทย
31 ต.ค. 65
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
มุสลิมบางกอกน้อย : แขกแพ ข้าวหมกสามสี และที่นอนยัดนุ่น
7 พ.ย. 65
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
หนังสือพิมพ์จีน การส่งผ่านแนวคิดทางการเมืองในสังคมไทย
14 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
จากพระประแดงถึงนครเขื่อนขันธ์ : นิวอัมเตอร์ดัมไทยแลนด์
21 พ.ย. 65
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
ย่านประดิพัทธ์ สะพานควาย กับการขยายเมืองทางตอนเหนือของพระนคร
28 พ.ย. 65
กำลังเล่น...
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
ชุมชนประชานฤมิตร จากสวนผลไม้ สู่ถนนสายไม้แห่งบางโพ
5 ธ.ค. 65
ชุมชนมัสยิดยะวา
ชุมชนมัสยิดยะวา
12 ธ.ค. 65
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
​สี่แยกราชประสงค์ : รู้จักย่านธุรกิจใหญ่ ด้วยความเข้าใจพื้นที่เก่า
19 ธ.ค. 65
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
สุสาน - ป่าช้า : พื้นที่ประวัติศาสตร์ของเมือง
26 ธ.ค. 65
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
ชาวปาร์ซี บนเส้นเวลาประวัติศาสตร์สยาม
13 ก.พ. 66
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
การไปรษณีย์โทรเลข : เล่าเรื่องวันวาน สู่ดิจิทัลอิโคโนมี่
20 ก.พ. 66
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
ประวัติศาสตร์แฟชั่น จากผ้าแถบ และรัฐนิยม สู่ Y2K
27 ก.พ. 66
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
เชียงใหม่ : สร้างบ้านแปงเมือง
6 มี.ค. 66
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
แกงโฮะหม้อใหญ่: เชียงใหม่เมืองพหุวัฒนธรรม
13 มี.ค. 66
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
ล้านนาลายมังกร : ตำนานการค้าขายของจีนฮ่อ-จีนโพ้นทะเล
20 มี.ค. 66
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
กาดหลวงเชียงใหม่ : จากสุสานเก่า สู่ตลาดคู่เมือง
27 มี.ค. 66
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
เชียงใหม่กับฝรั่งค้าไม้ : ช่วงชีวิตที่รุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง
3 เม.ย. 66
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
คนซิกข์และฮินดู : อัตลักษณ์ ความสัมพันธ์และวัฒนธรรมล้านนา
10 เม.ย. 66
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
241 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ : จากรากและกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง
17 เม.ย. 66
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
ชุมชนมุสลิมจีนในเชียงใหม่ ชาติพันธุ์ ศาสนา และการรักษาอัตลักษณ์
17 เม.ย. 66
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
สมโภช 700 ปี เชียงใหม่ กับทิศทางฟื้นฟู อนุรักษ์และพัฒนา
24 เม.ย. 66
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
ภาพถ่ายเชียงใหม่ ประวัติศาสตร์และความทรงจำของคนเมือง
1 พ.ค. 66
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
หมอสอนศาสนา: กับยุคเปลี่ยนผ่านของเชียงใหม่
8 พ.ค. 66
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
เชียงใหม่เมืองท่องเที่ยว ย่านวัดเกตการาม คลองโอตารุเชียงใหม่
22 พ.ค. 66
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
โฟล์คซองคำเมือง วัฒนธรรมคนเมืองในบทเพลง และอาหาร
29 พ.ค. 66
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
คนเมืองเชียงใหม่ : ญี่ปุ่นและจีนอพยพใหม่
5 มิ.ย. 66
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
อัญมณีแห่งบูรพาทิศ : จันทบุรีและบ้านเมืองภาคตะวันออก
12 มิ.ย. 66
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
เมืองท่าริมเขาสระบาป : จันทบุรียุคแรกเริ่ม
19 มิ.ย. 66

ละครย้อนยุค

ดูทั้งหมด

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย