จากสถิติ "โรคกระดูกพรุน" เป็นปัญหาทางสาธารณสุขในอันดับที่ 2 ของโลก รองจากโรคหัวใจและโรคหลอดเลือด เป็นภัยเงียบที่ไม่มีสัญญาณเตือนใด ๆ ซึ่งส่วนใหญ่พบได้ในกลุ่มผู้หญิงหมดประจำเดือน หรือ วัยทอง และกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งการรักษาโดยทั่วไปคือการทานแคลเซียมเสริม แต่ประเทศไทยส่วนใหญ่มีการนำเข้าแคลเซียมจากต่างประเทศและมีราคาที่สูงมาก ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงได้มีการนำกระดูกปลาซึ่งเป็นขยะทางอุตสาหกรรมการประมง ที่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม นำมาศึกษาวิจัยกนเกิดงานนวัตกรรมทางด้านการแพทย์ คือไบโอแคลเซียมจากกระดูกปลา
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "ไทยประดิษฐ์คิดเก่ง" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/WanmaiVarietyThaiInvention
จากสถิติ "โรคกระดูกพรุน" เป็นปัญหาทางสาธารณสุขในอันดับที่ 2 ของโลก รองจากโรคหัวใจและโรคหลอดเลือด เป็นภัยเงียบที่ไม่มีสัญญาณเตือนใด ๆ ซึ่งส่วนใหญ่พบได้ในกลุ่มผู้หญิงหมดประจำเดือน หรือ วัยทอง และกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งการรักษาโดยทั่วไปคือการทานแคลเซียมเสริม แต่ประเทศไทยส่วนใหญ่มีการนำเข้าแคลเซียมจากต่างประเทศและมีราคาที่สูงมาก ทางมหาวิทยาลัยแม่โจ้จึงได้มีการนำกระดูกปลาซึ่งเป็นขยะทางอุตสาหกรรมการประมง ที่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม นำมาศึกษาวิจัยกนเกิดงานนวัตกรรมทางด้านการแพทย์ คือไบโอแคลเซียมจากกระดูกปลา
ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "ไทยประดิษฐ์คิดเก่ง" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/WanmaiVarietyThaiInvention