อาร์เมเนียเป็นประเทศแลนด์ล็อก ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่กึ่งกลางระหว่างทะเลดำและทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดจอร์เจีย ซ้ายตุรกี ขวาอาเซอร์ไบจาน ใต้ติดอิหร่าน คงไม่ผิดนักหากจะบอกว่า สาวน้อยอาร์เมเนียตั้งอยู่ท่ามกลางจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ที่ต่างพากันยาตราข้ามไปข้ามมา เหมือน crossroad ระหว่างเอเชียและยุโรป
ศรัทธาของชาวอาร์เมเนียนั้นเป็นที่กล่าวขานถึงว่า ไม่มีวันเปลี่ยนแปลง แต่ในกระแสโลกทุกวันนี้ ชาวอาร์เมเนียรุ่นใหม่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร พวกเขาพยายามส่งเสียงบอกอะไรกับโลก กลับน่าสนใจกว่าอดีต
Armenia is a landlocked country, and has no zone which releases into the sea. It’s situated between the Black and Caspian Seas. It’s bordered by Georgia to the north, Turkey to the west, Azerbaijan to the east, and Iran to the south. It may not be far wrong to say that the young woman called Armenia has remained in the middle of great empires from the past to the present. She has served as the crossroads of civilisations between Asia and Europe dating back to the time of the Silk Road.
Armenians are famed for their “unchanging faith”. But in the current world we live in, how are the younger generation of Armenians changing with the times? What messages are they sending out to the world? Their story has become more interesting than that of “the distant past”.
ติดตามเรื่องราวได้ใน Spirit of Asia ตอน “บาเรฟ เซซ ฮายาสถาน” ความทรงจำถึงใบหน้าของหญิงสาว วันอาทิตย์ที่ 18 ธันวาคม 2565 เวลา 16.30 - 17.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live และสามารถเลือกรับชมด้วยเสียงภาคภาษาอังกฤษ คลิก Setting ไปที่ Audio Track เลือกเสียง ซาวด์แทร็ก
Spirit of Asia
มาตุภูมิแห่งขุนเขาและรกรากจากมารดา
เกียวโตพาสเทล วันซีดจางในยุคโควิด-19
เฝ้ารอการผลิดอกใหม่ ในคานาซาวะ
รากสยามในแดนมลายู
เกดะห์ พื้นที่ทับซ้อนแห่งชาติพันธุ์
จากซิงกอราถึงสงขลาบนคาบสมุทรสทิงพระ
พหุวิถี ณ สงขลา
180 ปี สงขลา ภาพจำที่ชัดเจน
เดียนเบียนฟู ลานชีวิตในงานเฉลิมฉลอง
มังกรขาว สะพานชีวิตของชาวหมกโจว
ฮานอยและจาการ์ตา ปลดล็อกดาวน์ทาวน์
ยามที่จาการ์ตาปริ่มน้ำ
สำรวจนูซันตารา เมืองหลวงแห่งใหม่อินโดนีเซีย
จากชนเผ่าสู่ชาวเมืองนูซันตารา สังคมอนาคตอินโดนีเซีย
ตามรอยลูกปัดร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ
ลูกปัด ศรัทธา ศาสนา และเส้นทางการค้าโบราณ
ลูกปัดคู่วิญญาณ
ครบรอบ 1 ปี รถไฟความไวสูงลาว - จีน
สตาร์ตอัปลาวทำ ลาวใช้ ลาวเจริญ
อำนาจสกุลหยวนในกัมพูชา
สีหนุวิลล์ที่ชายขอบอ่าวไทย
“บาเรฟ เซซ ฮายาสถาน” ความทรงจำถึงใบหน้าของหญิงสาว
"บลูเซวาน" หัวใจสีฟ้าของชาวอาร์เมเนีย
บินไปด้วย “ปีกของทาเท็ฟ” สู่กลางใจของยูเรเซีย
พันธนาการขงจื้อในสังคมเกาหลีใต้
เสียงจากหญิงเกาหลีใต้ "ใครจะอยู่ข้างฉัน"
ฝึกอ่านเขียน เรียนปีนังครั้งเยาว์วัย
เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ ที่ปีนัง
ปีนัง - ภูเก็ต สองพี่น้องในทะเลอันดามัน
มองลอดลายฉลุ บนชายเสื้อเคบาย่า
Spirit of Asia
มาตุภูมิแห่งขุนเขาและรกรากจากมารดา
เกียวโตพาสเทล วันซีดจางในยุคโควิด-19
เฝ้ารอการผลิดอกใหม่ ในคานาซาวะ
รากสยามในแดนมลายู
เกดะห์ พื้นที่ทับซ้อนแห่งชาติพันธุ์
จากซิงกอราถึงสงขลาบนคาบสมุทรสทิงพระ
พหุวิถี ณ สงขลา
180 ปี สงขลา ภาพจำที่ชัดเจน
เดียนเบียนฟู ลานชีวิตในงานเฉลิมฉลอง
มังกรขาว สะพานชีวิตของชาวหมกโจว
ฮานอยและจาการ์ตา ปลดล็อกดาวน์ทาวน์
ยามที่จาการ์ตาปริ่มน้ำ
สำรวจนูซันตารา เมืองหลวงแห่งใหม่อินโดนีเซีย
จากชนเผ่าสู่ชาวเมืองนูซันตารา สังคมอนาคตอินโดนีเซีย
ตามรอยลูกปัดร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ
ลูกปัด ศรัทธา ศาสนา และเส้นทางการค้าโบราณ
ลูกปัดคู่วิญญาณ
ครบรอบ 1 ปี รถไฟความไวสูงลาว - จีน
สตาร์ตอัปลาวทำ ลาวใช้ ลาวเจริญ
อำนาจสกุลหยวนในกัมพูชา
สีหนุวิลล์ที่ชายขอบอ่าวไทย
“บาเรฟ เซซ ฮายาสถาน” ความทรงจำถึงใบหน้าของหญิงสาว
"บลูเซวาน" หัวใจสีฟ้าของชาวอาร์เมเนีย
บินไปด้วย “ปีกของทาเท็ฟ” สู่กลางใจของยูเรเซีย
พันธนาการขงจื้อในสังคมเกาหลีใต้
เสียงจากหญิงเกาหลีใต้ "ใครจะอยู่ข้างฉัน"
ฝึกอ่านเขียน เรียนปีนังครั้งเยาว์วัย
เมื่อวาน วันนี้ พรุ่งนี้ ที่ปีนัง
ปีนัง - ภูเก็ต สองพี่น้องในทะเลอันดามัน
มองลอดลายฉลุ บนชายเสื้อเคบาย่า