หัวใจไต่ถังวสันต์ หัวหน้าคณะรถไต่ถังเจสันต์โชว์ เขาถูกยกเลิกงานแสดง ซึ่งต้องแบกรับภาระหลายอย่าง เพราะการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 แพร่เชื้อในไทย และภาครัฐบาลสั่งไม่ให้มีการแสดง
คนเลี้ยงลิง ลิงเลี้ยงคนวิถีชาวเกาะสมุย ที่สืบทอดกันมานับ 100 ปี ถึงวันนี้ชาวต่างชาติกลับมองว่าการใช้ลิงเก็บมะพร้าว เป็นการทารุณกรรมสัตว์ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในชุมชน พิสูจน์ความเป็นอยู่ระหว่างลิงกับคนที่ผูกพันเสมือนเครือญาติ
เด็กเลี้ยงแพะเรื่องราวของเอิร์ธและพ่อ อาศัยอยู่ในบ้านหลังเล็ก ๆ มีรายได้จากการเลี้ยงแพะ แม้จะมีแค่สองพ่อลูก แต่พวกเขาจะพิสูจน์ให้เห็นว่าสิ่งเหล่านี้มันล้ำค่าที่สุดในชีวิต
แสงทับทิม"ตอง" เธอเกิดมาพร้อมต้นทุนชีวิตติดลบ แต่ไม่ยอมแพ้ต่อโชคชะตาและคำดูแคลน โดยเป้าหมายแรกที่เธอจะเก็บเงิน คือสร้างห้องน้ำที่ปลอดภัยให้ตาและยาย
ชีวิตใหม่“เล่ากี่” หนุ่มชาวม้ง เคยค้ายาเสพติดและถูกจับเข้าคุก แต่โชคชะตาพลิกผัน เมื่อเก็บถุงแป้งที่มีสูตรโรตีได้จากถังขยะ พลิกชีวิตให้เป็นพ่อค้าโรตี สร้างรายได้จนส่งลูกเรียนจบปริญญาตรีและเลี้ยงดูแม่ได้อย่างไม่ลำบาก
แก้วหัวใจเกินร้อย“แก้ว” บุคคลที่มีความไม่สมบูรณ์ทางจิต มีสติบกพร่อง หลายคนเรียกเขาว่า “แก้วผีบ้า” แต่เขารู้จักทำมาหากินและช่วยเหลือผู้อื่น
สาวสตันต์ไบก์ใจเพชรเรื่องราวของสตันต์ไบก์สาวนักสู้ ที่เอาชนะความซึมเศร้า จนจิตใจแข็งแกร่งได้อีกครั้ง หลังสูญเสียรุ่นน้องในทีม
คุณป้ามือเหล็ก"ป้าแกะ" หญิงนักสู้ที่ต้องใส่แขนเทียม หรือ "มือเหล็ก" เพราะอุบัติเหตุ ต้องตัดแขนทิ้งทั้งสองข้าง มือเหล็กเปรียบเสมือนอวัยวะสำคัญในการดำเนินชีวิต เธอจึงต่อสู้ชีวิตด้วยตัวเอง ไม่ให้เป็นภาระสังคม
เมล์หลงยุค50 ปี กับการทำหน้าที่รับ - ส่งผู้โดยสารของ "ลุงเฉลิม" และ "ลุงเปี๊ยก" ด้วยรถร่วมบริการ บขส. สาย 68 สุพรรณฯ บางลี่ - สายใต้ หรือที่หลายคนเรียกว่า "รถหวานเย็น" แม้รถเก่า ตกยุค แต่มีค่าสำหรับคนที่ต้องพึ่งพารถเมล์สายนี้เพื่อต่อลมหายใจ
ก๋วยเตี๋ยวเรือกัปตันอดีตกัปตันสายการบิน ผันตัวมาขายก๋วยเตี๋ยว เพราะพิษโควิด-19 มรสุมที่เข้ามาอย่างไม่ทันตั้งตัว ได้เปลี่ยนความคิดให้เขามองชีวิตต่างไปจากเดิม
อยู่อย่างหยองเรื่องราวของดาวตลก "หยอง ลูกหยี" ที่เคยสร้างความฮาให้วงการบันเทิง เคยโด่งดังถึงขีดสุด แต่เมื่อชีวิตไม่สามารถก้าวไปข้างหน้าได้ จากที่เคยโด่งดัง หยองหมดยุคขายขำ เข้าสู่ยุคทำไร่ กลับไปใช้ชีวิตที่บ้านเกิดอยู่ต่างจังหวัด
ตาลต่อชีวิตเรื่องราวของ "สายยัง บุเงิน" กับความสามารถในการหยิบจับสิ่งของที่ใครไม่ต้องการ ให้กลับมามีคุณค่าอีกครั้ง เพราะวิกฤตโควิด-19 ที่เจอ และอีกหลายชีวิตที่รออยู่ข้างหลัง คือแรงผลักดันให้เขาก้าวต่อ
ครูอุบัติใหม่“เปิ้ล” นักศึกษาปี 3 สาขาพัฒนาชุมชน เธอตัดสินใจร่วมโครงการครูอาสาช่วยชุมชนเผชิญหน้าการเรียนยุคออนไลน์ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เพื่อช่วยเหลือนักเรียนในชุมชนให้ได้รับประโยชน์จากการเรียนออนไลน์
ลูกชิ้นหมอแคน"อดิศักดิ์ โพธิ์ศรี" ลูกชายของ "วรธมน เขตสันเทียะ" วัย 15 ปี ที่ทุกวันนี้ต้องทำหน้าที่แทนพ่อ ใช้แคนเป็นเครื่องมือเรียกลูกค้า ช่วยแม่ขายลูกชิ้นเลี้ยงครอบครัว ความรักและพลังใจ ช่วยสร้างความเข้มแข็งใหม่ในวันที่ไร้เสาหลัก
คนงิ้ว"สัจจวุฒิ วิมาน" หรือ "ฮั้ว" หนุ่มวัย 22 ปี เจ้าของคณะงิ้วที่อายุน้อยที่สุดในตอนนี้ เขาฝังใจในศิลปะงิ้วมาตั้งแต่เด็ก การบริหารคณะงิ้วไม่ง่ายเลย แต่เขาไม่ถอย เพราะใจรักและมุ่งมั่นบนเส้นทางสายงิ้ว
ช่างโนชเมืองสุพรรณมาโนช สอแอง หรือช่างโนช ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าขาพิการ แต่เขาทำงานไม่เคยหยุด เพราะเป้าหมายในชีวิตคือความสำเร็จของลูกสาว
เชียร์สุดใจเรื่องราวชีวิตการต่อสู้ของ "ครูหนวด - บุญฤทธิ์ รัตนวิจิตร" และลูกศิษย์ทีมเชียร์ลีดดิงโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนนทบุรี เชียร์ลีดดิงทีมแรกในประเทศไทยที่สมาชิกทุกคนเป็นผู้มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ลูกแก้ววิเศษเรื่องราวของ "น้องปุ้งกี๋" เธอเกิดมาพร้อมความพิเศษ มีพรสวรรค์ด้านภาษาอังกฤษและศิลปะ ที่ผู้เป็นแม่พร้อมจะทุ่มเทสรรพกำลัง เพื่อสานฝันของลูกให้เป็นจริง
เมฆเปลี่ยนสี"วินัย ไกรบุตร" หรือเมฆ อดีตพระเอกหนุ่ม เจ้าของฉายา "พระเอกร้อยล้าน" วันหนึ่งที่ร่างกายเต็มไปด้วยตุ่มหนอง เขาเรียนรู้ที่จะผ่านช่วงเวลาอันโหดร้ายนี้ไปได้อย่างไร
สาวน้อยขายเสียง“น้องเนย” เธอเกิดมาพร้อมความบกพร่องทางร่างกาย ไร้แขนและขามาแต่กำเนิด แต่สิ่งที่น้องเนยทำได้คือการร้องเพลง จึงได้แต่งเพลงที่มีเนื้อหาแสดงถึงตัวตน เพื่อขับร้องหารายได้
เจ็บไปรักไป - Yes'sir days อัลบั้ม Music box MOVIE and DRAMA lOVE SONGS vol.3 ขับร้อง : อัทธ์ Yes'sir days
จากกลุ่มนักดนตรีวัยรุ่น เดินทางมาสู่วงดนตรีชื่อดัง I-ZAX นั้น เส้นทางไม่ได้ง่าย พวกเขาต้องสู้กับข้อจำกัดมากมาย รวมถึงใช้เวลาทำเดโมถึง 3 ปี กว่าจะได้ออกเพลง
พบกับ คัฑลียา มารศรี เจ้าของฉายาราชินีเพลงประกวด เพลงของเธอจะถูกนำมา Re-arrange อย่างอลังการ โดย Music Director นรเทพ มาแสง ถ่ายทอดผ่าน Music Producer หลิว อาจารียา และอู๋ ธรรพ์ณธร นักร้องรุ่นใหม่ น้องเพลง, น้องการ์ตูน
หลังจาก "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" ได้เข้าเฝ้า "พระองค์เจ้าวิลาส" ก็ยิ่งทำให้หม่อมขำถึงกับนอนไม่หลับ เพราะคิดถึงตอนที่พระองค์เจ้าวิลาสได้ฟังเสียง หม่อมสุดท่องกลอนด้วยความเมตตา จนกลัวพระองค์เจ้าวิลาสจะทรงรับหม่อมสุดไปอยู่ที่ตำหนักใหญ่เพียงคนเดียว หม่อมสุดจึงคอยปลอบใจอย่างใกล้ชิด
พบกับประเด็น...โอกาสในวัยเด็กที่หายไปของ "เจฟ ญาณกวี" (มิค บ้านนี้มีรัก)...แลโลกเห็นเรา : "Text Hip" เทรนด์อ่านหนังสือแล้วเท่ห์ในเกาหลีใต้
เผยเคล็ดลับ ! ทำไมนิตยสารเด็กญี่ปุ่นถึงอยู่ยาวนานกว่า 100 ปี อะไรคือเคล็ดลับความสำเร็จ ฟูจิเซ็นเซจะพาไปรู้จักนิตยสารสำหรับเด็กประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ซึ่งนิตยสารเล่มนี้ ใช้หลักการง่าย ๆ แต่เข้าถึงใจเด็กได้เป็นอย่างดี นั่นก็คือ “ความสนุก” และ “ของแถมในเล่ม” ที่เป็นจุดดึงดูดใจอย่างมาก
ไปกินของอร่อย ๆ ครบจบทั้งคาวและหวาน ที่ตลาดริมน้ำวัดศาลเจ้า จังหวัดปทุมธานี ไม่ว่าจะเป็น กุยช่ายวาฟเฟิล, ขนมฝักบัว, กุ้งทอด, ปูทอด, เกี๊ยวไส้หมูทรงเครื่อง, ขนมปังหน้าหมู, ขนมวงทอง, ข้าวเม่าบอลไส้กล้วยไข่, ขนมกล่องไม้ขีด
ศิลปะแกะสลักผักผลไม้ งานประณีตศิลป์ของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ นิยมแกะสลักผักผลไม้ ตกแต่งอาหารให้มีความสวยงามและน่ารับประทาน นอกจากนี้ยังมีการแกะสลักผักผลไม้แบบตั้งโชว์เพื่อแสดงทักษะและฝีมือในการแกะสลักของช่าง
"ก๋งออด" เกษตรกรวัยเก๋าเจ้าของสวนมะขามแดงในจังหวัดราชบุรี จากอดีตฟาร์มหมูสู่สวนมะขามแดง พืชสมุนไพรที่ไม่ค่อยมีคนรู้จัก แต่ก๋งออดเล็งเห็นถึงความสำคัญของพืชชนิดนี้ จึงตั้งใจมุ่งมั่นปลูกมะขามแดง และแปรรูป
หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพฯ เสด็จสวรรคต สร้างความโศกเศร้าให้ พระองค์เจ้าดาราวดี อย่างยิ่ง รวมถึง หม่อมขำ ก็ร้องไห้หนัก จน หม่อมสุด ต้องคอยปลอบใจ ระหว่างนั้น หม่อมสอน กับ หม่อมเภา ผ่านมาเห็น ก็ว่าหม่อมขำกับหม่อมสุดเป็นคู่เล่นเพื่อนกัน
ดูแลปอดและลำไส้ใหญ่ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว กับ พท.ว.ณัฐพล วาสิกดิลก แพทย์แผนไทย รับฟังความรู้ความสัมพันธ์ของอวัยวะในร่างกายที่จะทำให้เราดูแลร่างกายได้อย่างตรงจุดมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นสูตรการสุมยาด้วยขมิ้น มะกรูดตะไคร้ ใบเตย การใช้สมุนไพรเป็นยา การกินเป็นยาด้วยหอมใหญ่ หอมไทย หอมแขก มะกรูด มะนาว เลมอน และกระเจี๊ยบ เพื่อสุขภาพแข็งแรงห่างไกลปัญหาเรื่องปอด และลำไส้ใหญ่ ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
ชมการออกแบบวิถีชีวิตดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพใจแบบพึ่งพาตนเอง กับ คุณสุรชัย สะนิละ เจ้าของศูนย์การเรียนรู้เพื่อการพึ่งพาตนเอง บ้านสุมาลี โดยการใช้พื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดไม่ว่าจะเป็นการเลี้ยงปลาในบ่อ แบ่งสัดส่วนพื้นที่ปลูกสมุนไพร ไม้ดอก และไม้ประดับ แบบไม่พึ่งพาสารเคมี ใช้ปุ๋ยหมักจากธรรมชาติ การใช้น้ำด่างจากเถ้าถ่านดูแลพืชผัก การต่อยอดใช้ผลผลิตที่ได้เป็นผลิตภัณฑ์ไว้ใช้ในครัวเรือน และการสร้างอากาศที่ดี บรรยากาศร่มรื่น การจัดสรรเวลาออกกำลังกายบริหารปอดที่สามารถทำเองได้ง่าย ๆ ที่บ้าน ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
เรื่องราวของสมุนไพรที่ช่วยบำรุงปอด ต่อกันด้วยการเกษตรแบบผสมผสาน สู้ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ และสร้างกล้ามเนื้อช่วงล่าง เพิ่มอัตราการเผาผลาญ
แก้ปัญหาอายุที่มากขึ้น ส่งลงต่อการสร้างกล้ามเนื้อที่ลดลง ทำให้อัตราการเผาผลาญของร่างกายลดลง กับ คุณสุดาวดีวิบูลยเสข ผู้ฝึกสอน ด้วยการออกกำลังกายที่เน้นสร้างกล้ามเนื้อช่วงล่าง ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ด้วยท่าออกกำลังกายที่สามารถทำตามได้ง่าย ๆ ใช้เวลาไม่มากแต่มีประสิทธิภาพเห็นผลได้จริง ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
ระหว่างที่ "หม่อมขำ" กับ "หม่อมสุด" กำลังเตรียมอาหารอยู่ในครัวตามที่ได้รับมอบหมายหน้าที่จาก พระองค์เจ้าดาราวดี ให้ดูแลเครื่องเสวยถวายเจ้านายในงานพระศพ หม่อมขำ ได้ทำการลองชิมให้ได้รสที่ถูกใจก่อนถวาย พอ "หม่อมแก้ว" เห็นก็ไม่พอใจที่ หม่อมขำ ตักอาหารกินก่อนเจ้านาย พยายามเอาเรื่องให้ถึงที่สุด
ชวนไปชิมขนมหมี่สิ แบบชาวกะเหรี่ยงแท้ๆ ในรายการลุยไม่รู้โรย ชมย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/program/Lui/episodes/94169
"พระองค์เจ้าวิลาส" เสด็จไปร่วมงานพระศพฯ "หม่อมขำ" ซึ่งทำหน้าที่ดูแลเครื่องเสวยก็ได้จัดเตรียมพระกระยาหารด้วยความกังวลเพราะกลัวจะไม่ถูกพระโอษฐ์พระองค์เจ้าวิลาส พอ "หม่อมสุด" เห็นก็เป็นห่วง จึงพยายามปลอบและให้กำลังใจ
ใครที่อยากทำบุญสงเคราะห์สุนัขและแมวจรจัด สามารถส่งอาหารช่วยเหลือกันได้ มีแคมป์เลี้ยงสัตว์จรจัดกลางป่าเกือบ 400 ตัว คนที่มาเที่ยวแคมปิงสามารถซื้ออาหารสัตว์มาแลกที่พักฟรี ได้ช่วยเหลือสัตว์จรจัดพร้อมกับพักผ่อนที่แคมป์กลางธรรมชาติ จ.สงขลา
ชาวเผ่าลีซู หรือลีซอ ที่ อ.พบพระ จ.ตาก เร่งทำย่ามให้ทันช่วงเทศกาลปีใหม่ ผลิตแทบไม่ทัน เพราะรูปแบบเฉพาะตัว เหมาะนำไปใช้งานหรือเสริมการแต่งตัวได้อย่างดี
พาไปชมสองสามีภรรยา อยู่ที่ ต.อู่ตะเภา อ.มโนรมย์ จ.ชัยนาท เลี้ยงแพะ และแกะ แบบไล่ทุ่ง ลดต้นทุนค่าอาหารเป็นอย่างดี และยังเป็นศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตร (ศพก.) ด้านปศุสัตว์ของอำเภออีกด้วย
ชาวบ้าน จ.ตรัง ขุดสระน้ำเป็นรูปเลข 9 แสดงออกทางสัญลักษณ์ น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกต์การทำเกษตรผสมผสาน ผ่านโคกหนองนาโมเดล
สูตรเด็ดเคล็ด(ไม่)ลับ กับเมนูเคยคั่วหอยไฟไหม้ดอง เมนูชวนข้าวหมดหม้อ อร่อยจนต้องขอเติม ติดตามได้ในรายการภัตตาคารบ้านทุ่ง ชมวิธีทำต่อได้ที่ www.thaipbs.or.th/program/BanTung/episodes/104918
ทะเลจีนใต้มีแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติอยู่มหาศาล และอุดมสมบูรณ์ไปด้วยปลาและสัตว์น้ำนานาชนิด มีความสำคัญทั้งในเชิงยุทธศาสตร์และด้านเศรษฐศาสตร์ หลายประเทศในภูมิภาคต่างอ้างความเป็นเจ้าของ
ชวนคุยประเด็นร้อน...กระแส ยิ่งลักษณ์กลับไทย สงกรานต์ 68 แล้ว "ยิ่งลักษณ์กลับไทย" เดินตามรอย ทักษิณโมเดลหรือไม่ ? ฟังวิเคราะห์ศาลรัฐธรรมนูญ ไม่รับคำร้อง ทักษิณ – เพื่อไทย" ล้มล้างการปกครอง มองสองมุม "แจกเงินหมื่น เฟส 2" หาเสียงหรือกระตุ้นเศรษฐกิจ ? เส้นทาง "พ.ร.บ. ประชามติ - แก้รัฐธรรมนูญ" ยังอีกยาว อาจไม่ทันเลือกตั้งครั้งหน้า
ประธานบอร์ดแบงก์ชาติจบเรียบร้อยหรือยัง หรือยังต้องตรวจสอบอะไรเพิ่มเติมอีก ฟังการวิเคราะห์เต็ม ๆ ได้ในรายการคุยให้คิด www.thaipbs.or.th/program/TalkToThink/episodes/105235
เงินหมื่น ที่แจกกันแล้วเฟสที่ 1 แล้วเฟสต่อไปใครจะได้รับบ้าง ฟังการวิเคราะห์เต็ม ๆ ได้ในรายการคุยให้คิด www.thaipbs.or.th/program/TalkToThink/episodes/105235
เพราะอะไร พรรคการเมืองถึงยังไม่อยากให้มาการเลือกตั้งในเวลาอันใกล้นี้ และอุปสรรคของแต่ละพรรคหลังได้รับเลือกตั้งยังมีอะไรอีกบ้าง ฟังการวิเคราะห์เต็ม ๆ ได้ในรายการคุยให้คิด ชมย้อนหลังทาง www.thaipbs.or.th/program/TalkToThink/episodes/105235
สงกรานต์ 68 ยิ่งลักษณ์ จะได้กลับไทย ตามที่ #ทักษิณ บอกไว้หรือเปล่า แล้วจะมีกระบวนการอย่างไรบ้าง ฟังการวิเคราะห์เต็ม ๆ ได้ในรายการคุยให้คิด ชมย้อนหลังทาง www.thaipbs.or.th/program/TalkToThink/episodes/105235
นำเสนอความหลากหลายในศิลปะและวัฒนธรรม ถ่ายทอดเรื่องราว อุดมการณ์ จิตวิญญาณ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย
วัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่บรรพบุรุษ และได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน นั่นคือ "ทุนทางวัฒนธรรม"
สรรค์สร้างความรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี ออกเดินทางไปทั่วประเทศเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากทุกภูมิภาค
สารคดีค้นหาเรื่องราวคนบนแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบัน ตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ภาษา ไปจนถึงในระดับพันธุกรรม DNA นำไปสู่ข้อมูลความรู้หลักฐานใหม่เพื่อตอบคำถามว่า "คนไทยคือใคร มาจากไหน" สารคดีเธอ เขา เรา ใคร สำรวจคนไทยในแผ่นดิน ออกอากาศทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 21.10 - 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส